1 / 30

ผู้ป่วยโรคหัวใจเดินทางไปโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องได้รับการ

Consultant Services and Warning System for Treatment of Cardiac Patient using Web Services Technology ระบบให้บริการคำปรึกษาและแจ้งเตือนสำหรับการรักผู้ป่วยโรคหัวใจ โดยใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส. ผู้ป่วยโรคหัวใจเดินทางไปโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องได้รับการ

erling
Télécharger la présentation

ผู้ป่วยโรคหัวใจเดินทางไปโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องได้รับการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Consultant Services and Warning System forTreatment of Cardiac Patient using Web Services Technologyระบบให้บริการคำปรึกษาและแจ้งเตือนสำหรับการรักผู้ป่วยโรคหัวใจโดยใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส

  2. ผู้ป่วยโรคหัวใจเดินทางไปโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องได้รับการ ผู้ป่วยโรคหัวใจเดินทางไปโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยงานสาธารณสุขมูลฐานจะต้องได้รับการ รักษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลจังหวัดในเวลาก่อนที่จะมีอาการรุนแรงเกิดขึ้น งานนี้ นำเสนอบริการที่ปรึกษาและระบบการเตือนสำหรับการรักษาการเต้นของหัวใจของผู้ป่วยโดยใช้ เทคโนโลยีเว็บบริการเปิดใช้ระบบการดูแลสุขภาพของหน่วยที่ใช้แพลตฟอร์มที่ต่างกันเพื่อให้ สามารถโดยอัตโนมัติแลกเปลี่ยนข้อมูลผู้ป่วยและคลื่นไฟฟ้าการวิจัยนี้จะเอื้อต่อโรงพยาบาลชุมชน เพื่อแจ้งให้ผู้เชี่ยวชาญที่โรงพยาบาลจังหวัดเมื่อผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาฉุกเฉินมาถึงที่ โรงพยาบาลชุมชน ระบบยังอำนวยความสะดวกผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้สามารถค้นหารายละเอียดของ ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่สถาบันอื่น ๆ การดูแลสุขภาพผู้เชี่ยวชาญสามารถให้คำปรึกษาในการรักษา ผู้ป่วยผ่านอินเตอร์เฟซการประชุมและวิดีโอของระบบเป็นผลให้ผู้ป่วยโรคหัวใจจะได้รับการให้ คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญการรักษาในเวลาก่อนอาการรุนแรงเกิดขึ้น

  3. 1. บทนำ โรคหัวใจ (Heart Disease) เป็นหนึ่งในโรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตในผู้ป่วยมากที่สุดโรคหนึ่ง ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เนื่องจาก อาการของโรคสามารถเกิดขึ้นได้ง่ายและอย่างฉับพลัน ในปัจจุบันได้มีหน่วยบริการสุขภาพ เกิดขึ้นมากมายทั้งในภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็น โรงพยาบาลประจะจังหวัด โรงพยาบาล ชุมชน เป็นต้น

  4. ปัญหาของการปฏิบัติงานปัญหาของการปฏิบัติงาน แพทย์ผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถทราบรายละเอียดข้อมูลที่จำเป็นของผู้ป่วยรายนั้นได้ทันที เช่น ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต การรักษาที่เคยได้รับ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผ่านมา ซึ่งเป็น ข้อมูลที่สำคัญต่อการวินิจฉัยและสั่งการ ถ้าข้อมูลที่ได้รับไม่เพียงพอหรือไม่มีความชัดเจน ก็ จำเป็นที่จะต้องส่งตัวผู้ป่วยเข้ามารับการรักษาต่อกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่โรงพยาบาลประจำจังหวัด ซึ่งผู้ป่วยก็อาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการแทรกซ้อนในระหว่างการเดินทางได้

  5. แนวทางการแก้ไขปัญหา งานวิจัยนี้ได้เสนอระบบให้บริการคำปรึกษาและแจ้งเตือนสำหรับการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจโดย ใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส (Consultant Services and Warning System for Treatment of Heart Disease Patients using Web ServicesTechnology หรือเรียกย่อๆว่า CAWS) โดยมีวัตถุประสงค์ใน การแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น คือ ช่วยให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลสามารถใช้งาน ระบบ CAWS บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อแจ้งเตือนไปยังระบบงานของโรงพยาบาลประจำ จังหวัดในขณะเดียวกันก็จะทำการติดต่อไปหาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้โดยตรง ซึ่งแพทย์ก็สามารถให้ คำปรึกษาผ่านระบบงาน CAWS พร้อมทั้งการสืบค้นประวัติการรักษาของผู้ป่วยได้ด้วย

  6. 2. ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 2.1 เว็บเซอร์วิส (Web Services) เว็บเซอร์วิสเป็นเทคโนโลยีที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้เป็นมาตรฐานเปิด (open standard) โดย มุ่งเน้นที่เกี่ยวกันปัญหาการบูรณาการข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ทำให้ระบบหรือ โปรแกรมประยุกต์ที่มีความแตกต่างกันสามารถทำงานร่วมกันได้ เว็บเซอร์วิสจะมี องค์ประกอบหลักๆได้แก่ ผู้ให้บริการ , ผู้เรียกใช้บริการ โดยผ่านมาตรฐานโปรโตคอล SOAP ซึ้งใช้ XML เป็นมาตรฐานกลางในการสร้างข้อความติดต่อกับเว็บเซอร์วิส และการรับข้อมูล ผลลัพธ์จากเว็บเซอร์วิส แต่ละองค์ประกอบจะมีหน้าที่การทำงานที่สัมพันธ์กันดังภาพ

  7. 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Rigby ct al. (2007) ได้เสนอระบบตัวแทนสารสนเทศ (Information broker system) ที่ทำ หน้าที่สืบค้นข้องมูลผู้ป่วยจากแหล่งเก็บข้อมูลสุขภาพที่หลากหลาย โดยใช้เทคโนโลยีเว็บ เซอร์วิส เนื่องจากในปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบอีเล็กทรอนิกส์เพื่อเก็บข้อมูลประวัติสุขภพ ของผู้ป่วย(Electronic Paticnt Record Systems : EPR) จำนวนมาก ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนใน การดำเนินงาน อีกทั้งข้อมูลจำนวนมากที่ไม่สามารถนำมาใช้งานต่อได้ จึงมีการพัฒนาให้ผู้ใช้ที่ เกี่ยวข้องสามารถสืบหาข้อมูลประวัติผู้ป่วย และบูรณาการข้อมูลประวัติผู้ป่วย

  8. 4. วิธีดำเนินงานวิจัย 4.1การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นขั้นตอนการศึกษาและรวบรวมข้อมูลสภาพปัญหาในปัจจุบัน เช่นศึกษาการ จัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ การดูแลการติดตามผู้ป่วยของหน่วยบริการ ข้อมูลการ ตรวจร่างกาย 4.2การออกแบบระบบ ออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบ ในงานนี้ได้ออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบ CAWS ดังในภาพ

  9. สถาปัตกรรมระบบให้คำปรึกษาและการแจ้งเตือนสำหรับการรักษาผู้ป่วยสถาปัตกรรมระบบให้คำปรึกษาและการแจ้งเตือนสำหรับการรักษาผู้ป่วย

  10. 1.ระดับชั้นแหล่งข้อมูล (Resource Layer) คือ ระดับชั้นที่มีการจัดจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยจากหน่วยบริการแต่ละแห่งโดยผ่านระบบบันทึก ข้อมูลสุขภาพ แต่ละหน่วยบริการสามารถมีระบบจัดการฐานข้อมูลที่แตกต่างกัน ซึ่งใช้โปรโตคอล SOAP เป็นมาตรฐานกลาง เพื่อช่วยในการเข้าถึงละการสืบค้นข้อมูล ผลลัพธ์ที่สืบค้นได้คือข้อมูลผู้ ป่ายเฉพาะที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจจะถูกส่งให้กับระบบงานกลางที่อยู่ในระดับชั้นถัดไป 2. ระดับชั้นตัวกลางจัดการระบบ (Mediator Layer) คือ ระดับชั้นที่ทำหน้าที่สืบค้นข้อมูลจากเว็บเซอร์วิสขิงแต่ละหน่วยแล้วทำการบูรณาการข้อมูล มาเก็บไว้ที่แล่งข้อมูลกลางของผู้ป่วยโรคหัวใจ ประกอบด้วยโมดูลย่อยๆ ดังนี้

  11. 2.1 Consultant Service and Warning Module/Video Conference คอยรับการติดต่อจากหน่วยบริการใน Resource Layer และแจ้งเตือนไปยังแพทย์ประจำจังหวัด โดยแจ้งเตือนผ่านทางมือถือ และจอคอมพิวเตอร์ 2.2 Patient Record and ECG Report Module ทำหน้าที่ดึงข้อมูลประวัติผู้ป่วยโรคหัวใจจากฐานข้อมูลกลางและรับข้อมูลการตรวจคลื่นไปฟ้า หัวใจ (DCG) จากหน่วยบริการที่เรียกใช้ปริการ 2.3 Web Service Registration and Management Module ทำหน้าที่ให้บริการลงทะเบียนเว็บเซอร์วิส และควบคุมการเรียกใช้งานเว็บเซอร์วิส ของผู้บริหาร ระบบงาน CAWS 2.4 User Management Module ให้บริการกับผู้ใช้ ที่ต้องมาลงทะเบียนกับระบบผ่านทาง User Management Module และทำ การเก็บประวัติเพื่อกำหนดสิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูลจากฐานข้อมูล

  12. 2.5 Patient Record Integration Module มีหน้าที่บูรณาการข้อมูลประวัติผู้ป่วยเพื่อนำไปเก็บไว้ในฐานข้อมูล 2.6 ECG Importable Module ทำหน้าที่รับรับข้อมูล ECG จากหน่วยบริการมีรูปแบบเป็นไฟล์รูปภาพ (.jpeg) 2.7 Web Service Invocation ทำหน้าที่เรียกใช้งานเว็บเซอร์วิส เพื่อสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล 2.8 Heart Disease Database Center เป็นฐานข้อมูลกลางผู้ป่วยโรคหัวใจที่เก็บข้อมูลประวัติผู้ป่วยโรคหัวใจและเป็นข้อมูลที่บูรณาการ แล้ว 2.9 User and Service Profile เป็นแล่งเก็บข้อมูลการลงทะเบียนเพื่อประกาศบริการและตำแหน่งที่อยู่ของเอกสาร WSDL เพื่อให้ระบบงานกลางสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้และยังทำหน้าที่เก็บข้อมูลการลงทะเบียนของผู้ใช้งาน ที่จะต้องบันทึกประวัติเก็บชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน

  13. 3.Presentation Layer คือระดับชั้นที่ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้งานแบ่งออกเป็น 3.1 ผู้บริหารระบบ ประกอบด้วย - ผู้บริหารเว็บเซอร์วิสของแต่ละหน่วยบริการที่จะเข้ามาลงทะเบียนเว็บเซอร์วิสกับระบบงานกลาง - ผู้บริหารระบบ CAWS ทำหน้าที่ควบคุม บริหาร จัดการ และเรียกใช้งาน ตรวจสอบแกไขข้อผิดพลาด กำหนด สิทธิ์ให้กับผู้ใช้งาน 3.2 แพทย์หรือเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลชุมชน มีหน้าที่ติดต่อเข้ามายังระบบ CAWS เมื่อมีผู้ป่วยเข้ารับการรักษา เพื่อเรียกใช้บริการคำปรึกษาละการแจ้งเตือน เพื่อแจ้งเตือนไปยังแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลประจำจังหวัด 3.3 แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลประจำจังหวัด มีหน้าที่ให้บริการคำปรึกษาการรักษาผ่านทาง Consultant Service Module ซึ่งแพทย์จะสามารถสืบค้นข้อมูลประวัติผู้ป่วยและข้อมูลคลื่นไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วยได้

  14. ผลการดำเนินงาน แต่ละหน่วยบริการจะต้องทำการลงทะเบียนเว็บเซอร์วิสกับระบบ CAWS เพื่อประกาศเว็บเซอร์วิสของตน และเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งกันของข้อมูลบริการ เช่น การใช้ชื่อพารามิเตอร์ที่แตกต่างกันทั้งๆที่เป็นข้อมูลบริการแบบเดียวกัน จึงพัฒนาเครื่อง มือที่ช่วยในการเชื่อมโยงข้อมูลบริการที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน แสดงเชื่อมโยงข้อมูลบริการของแต่ละหน่วยบริการ

  15. การบันทึกประวัติผู้ป่วยเริ่มต้น เพื่อส่งไปขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

  16. แสดงข้อมูลการข้อมูลผู้ป่วยและภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ส่งจากโรงพยาบาลชุมชนเพื่อขอรับคำปรึกษาแสดงข้อมูลการข้อมูลผู้ป่วยและภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ส่งจากโรงพยาบาลชุมชนเพื่อขอรับคำปรึกษา

  17. แสดงส่วนของการบันทึกข้อความการให้คะแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญแสดงส่วนของการบันทึกข้อความการให้คะแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

  18. SOAP

  19. Service Consumer •  สร้าง SOAP Message เพื่อเรียกใช้บริการของ เว็บเซอร์วิส แล้วส่งผ่านโพรโตคอลเครือข่ายไปยังผู้ให้บริการ ในที่นี้ SOAP message ที่รับ-ส่งไปมานั้น อยู่ในรูปแบบ XML และต้องมีการแปลกลับมาอยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์เข้าใจ โดยมีโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลความหมายของเอกสาร XML คือ XML Parser

  20. Service Consumer • โรงพยาบาลชุมชนจะแจ้งเตือนไปยังแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของโรงพยาบาลประจำจังหวัดเมื่อมีผู้ป่วยเข้ารับการรักษา และยังช่วยให้แพทย์สามารถสืบค้นประวัติผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาจากสถานพยาบาลหลายแห่งและได้รับคำปรึกษาการรักษาได้โดยผ่านทางระบบประชุมทางไกลผ่านจอภาพ

  21. UDDI Registry • The Universal Description, Discovery, and Integration (UDDI) อธิบายถึงการลงทะเบียนออนไลน์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ต้องการค้นหา Web Services สามารถเข้ามาค้นหาบริการที่ต้องการได้ รวมทั้งรับทราบวิธีการเรียกใช้บริการเหล่านั้นผ่านข้อมูล WSDL ที่ระบุไว้

  22. UDDI Registry • UDDI ประกอบด้วยองค์ประกอบของข้อมูลดังต่อไปนี้ •  businessEntity :  ที่เป็นทางเข้าในเรื่องของ UDDI ซึ่งจะรับข้อมูลของเพื่อนร่วมงานเพื่อจะค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการทางธุรกิจ โดยรวมถึง ชื่อ, อุตสาหกรรมหรือชนิดของ ผลิตภัณฑ์ ที่ตั้งเชิงภูมิศาสตร์ การจัดประเภทแบบเลือกได้ และการติดต่อข้อมูล

  23. UDDI Registry • businessService : ซึ่งจะบรรจุข้อมูลลักษณะการบริการทางธุรกิจเกี่ยวกับกลุ่มความสัมพันธ์การบริการทางเทคนิคโดยประกอบด้วยชื่อกลุ่ม, คำอธิบายสรุป, ข้อมูลคำอธิบายการบริการทางเทคนิค และข้อมูลหมวดหมู่

  24. UDDI Registry • bindingTemplat : ประกอบด้วยข้อมูลที่จำเป็นสำหรับโปรแกรมในการเรียกใช้บริการทางเว็บบางอย่าง ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ประกอบด้วย ที่อยู่ของบริการทางเว็บ (Web Service URL) และการกำหนดเส้นทาง (routing) และทำ load balancing

  25. UDDI Registry • tModel :  คำอธิบายเกี่ยวกับการระบุบริการทางเว็บซึ่งจะทำหน้าที่แสดงรายละเอียดเทคนิคของการบริการเว็บทำให้ง่ายต่อผู้บริโภคในการค้นหาบริการเว็บที่มีข้อกำหนดเทคนิคตาม ที่ต้องการ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับคำอธิบายคุณลักษณะเฉพาะของโครงสร้าง tModel ภายใน Web Service ของลูกค้า เพื่อให้สามารถระบุ Web Service ที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น ต้องการส่งรายการจัดซื้อไฟยังคู่ค้าโดย Web Service การเรียกใช้บริการ ไม่เพียงรู้ที่ตั้ง/URL เท่านั้นแต่ต้องทราบถึงรูปแบบของรายการจัดซื้อที่สามารถส่งได้, โปรโตคอลที่เหมาะสม, วิธีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และรูปแบบของผลตอบรับหลังจากส่งรายการจัดซื้อแล้ว

  26. WSDL • Web Services Description Language (WSDL) คือ เอกสาร XML ที่อธิบายรายละเอียดในการติดต่อกับเว็บเซอร์วิส เพื่อให้ แอพพลิเคชั่นที่ต้องการเรียกใช้เว็บเซอร์วิสรู้ว่าเซอร์วิสนั้นให้บริการอะไรบ้าง และจะติดต่อได้อย่างไร

  27. WSDL • เมื่อลงทะเบียนที่ UDDI Registry การเรียกใช้บริการจะเริ่มจากผู้เรียกใช้บริการจะเข้ามาค้นหาบริการที่ต้องการจาก UDDI Registry โดยดูคำอธิบายวิธีการเรียกใช้ข้อมูลบริการจากไฟล์ WSDL

  28. Web Service • ระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่ายโดยใช้ภาษา XML • มีอินเทอร์เฟส ที่ใช้อธิบายรูปแบบข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผลได้  ลักษณะการให้บริการของ Web Services  นั้น จะถูกเรียกใช้งานจาก application อื่นๆ

  29. สรุป ระบบให้บริการคำปรึกษาและแจ้งเตือนสำหรับการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจโดยใช้เทคโนโลยี Web Service โดยจะช่วยให้แพทย์จากโรงพยาบาลชุมชน รายงานต่อแพทย์ประจำจังหวัด เพื่อนให้ทราบว่ามีผู้ป่วยต้องการเข้ารับการแนะนำเพื่อการรักษา จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งระบบนี้จะช่วยให้ทางโรงพยาบาลชุชนสามารถส่งข้อมูลประวัติการเจ็บป่วย ผลการตรวจของผู้ป่วย เพื่อให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเห็นได้ทันที นอกจากนี้ยังช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันได้ ทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ว จึงช่วยให้แพทย์วินิจฉัยและรักษาได้ทันท่วงที และวางแผนในการรักษาต่อไป

  30. Consultant Services and Warning System forTreatment of Cardiac Patient using Web Services Technologyระบบให้บริการคำปรึกษาและแจ้เตือนสำหรับการรักผู้ป่วยโรคหัวใจโดยใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส จัดทำโดย 1.นาย ณัฐวุฒิ บาลัน 53660012 2.นาย พิชาญ์สังขปัตร 53660014 3.นาย ฉัตรชัย แจ่มใส 53660083 4.นาย ธิณวุฒิ มีสำฤทธิ์ 53660090 5.นางสาว กิตติพา คลังวิสาร 52030490 6.นางสาว วันทนา คำบุญศรี 52030948

More Related