1 / 37

ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ (astronomy and space technology)

ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ (astronomy and space technology). เอกภพและวิวัฒนาการของเอกภพ. ทฤษฎีบิ กแบง (The Big Bang Theory). ผู้เสนอทฤษฎีนี้เป็นคนแรกคือ บาทหลวงชาวเบลเยียม จอร์ช เลอแทตร์

eros
Télécharger la présentation

ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ (astronomy and space technology)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ(astronomy and space technology)

  2. เอกภพและวิวัฒนาการของเอกภพเอกภพและวิวัฒนาการของเอกภพ

  3. ทฤษฎีบิกแบง(The Big Bang Theory) • ผู้เสนอทฤษฎีนี้เป็นคนแรกคือ บาทหลวงชาวเบลเยียม จอร์ช เลอแทตร์ • อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ได้ตรวจพบรังสีไมโครเวฟพื้นหลัง (cosmic microwave background – CMB) ซึ่งมีอุณหภูมิ 3 เคลวิล เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีอยู่ทั่วไปในเอกภพที่มีความเข้มน้อยๆ แต่ขนาดสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นร่องรอยที่หลงเหลืออยู่จากบิกแบง

  4. ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและช่วงเวลาในการเกิดเอกภพตามทฤษฎีบิกแบงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและช่วงเวลาในการเกิดเอกภพตามทฤษฎีบิกแบง

  5. กาแลกซี่ (Galaxies) • กาแลกซี่ (Galaxies) เป็นระบบใหญ่ที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ก๊าซ และฝุ่นผงที่ล่องลอยอยู่ระหว่างดาวฤกษ์ นักดาราศาสตร์ประมาณว่า ในกาแลกซี่หนึ่งๆ จะมีดาวฤกษ์อยู่ประมาณหนึ่งแสนล้านดวง • กาแลกซี่ที่เราอยู่มีชื่อเรียกว่า กาแลกซี่ทางช้างเผือก หรือ กาแลกซี่ทางน้ำนม (The Milky Way)

  6. กาแลกซี่ทางช้างเผือก (The Milky Way) • ในกาแลกซี่ทางช้างเผือก มีจำนวนดาวฤกษ์ทั้งสิ้นประมาณ 1011ดวง กับสสารระหว่างดาวที่มีมวลประมาณ 1010เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ • โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่มีความยาวประมาณ 100,000 ปีแสง

  7. การแบ่งประเภทของกาแลกซี่การแบ่งประเภทของกาแลกซี่ • เอ็ดวิน พี ฮับเบิล (Edwin P. Hubble) แบ่งกาแลกซี่ออกเป็น • กาแลกซี่กลมรี (Elliptical Galaxies) • กาแลกซี่แบบก้นหอย (Spiral Galaxies) • กาแลกซี่แบบก้นหอยธรรมดา (Normal) • กาแลกซี่แบบก้นหอยคาน (Barred Spiral Galaxies) • กาแลกซี่แบบไร้รูปร่าง (Irregular Galaxies)

  8. ดาวฤกษ์ (Star) • ดาวฤกษ์ หมายถึงดาวประจำที่ที่เรามักเห็นปรากฏอยู่ในตำแหน่งเดิมเสมอซึ่งแท้จริงแล้วดาวฤกษ์จะเคลื่อนที่ไปรอบศูนย์กลางของ กาแลกซี่ แต่เนื่องจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ไกลกันมากและรักษาระยะห่างกันเท่าเดิมเสมอจึงดูเหมือนอยู่ในตำแหน่งเดิม

  9. การจำแนกดาวตามสเปกตรัม(Draper classification)

  10. ความสว่าง (brightness) และโชติมาตร (magnitude) ของดาว

  11. ระบบสุริยะ (The Solar System)

  12. ดวงอาทิตย์ (The Sun) • ชั้นบรรยากาศประกอบด้วย • โฟโตสเฟียร์ (photosphere) • โครโมสเฟียร์ (chromosphere) • โคโรนา (corona)

  13. วิวัฒนาการของดวงอาทิตย์วิวัฒนาการของดวงอาทิตย์

  14. ดาวเคราะห์ (Planets) • แบ่งได้ 2 กลุ่ม • ดาวเคราะห์แข็ง (Terrestrial Planets) • ดาวเคราะห์ก๊าซ (Jovian Planets) • จากการประชุมสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล เมื่อ 24 สิงหาคม 2549 มีการนิยามดาวเคราะห์ประเภทต่างๆ ใหม่ • และด้วยนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ ทำให้ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเหลือเพียง 8 ดวง • ลดสถานะดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์น้อย

  15. ดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม • ดาวเคราะห์วงใน (interior planet) • ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่ระหว่าง ดวงอาทิตย์กับโลก • ดาวเคราะห์วงในโคจรเข้ามาอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกมากที่สุด ซึ่งอยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ จึงหันด้านมืดมายังโลก • ดาวเคราะห์วงในโคจรไปอยู่ในตำแหน่งไกลจากโลกมากที่สุด แม้จะหันด้านสว่างมายังโลก แต่ก็ถูกบดบังด้วยแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ • ดาวเคราะห์วงนอก (exterior planet) • ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่หลังจากโลก

  16. ดาวศุกร์ • ปรากฏในตอนรุ่งสางทางฟากฟ้าทิศตะวันออกเราเรียกว่าดาวรุ่ง ดาวประกายพฤกษ์หรือดาวกัลปพฤกษ์ (Morning Star) • ถ้าเห็นตอนค่ำทางทิศตะวันตกเรียกว่าดาวประจำเมือง (Evening Star) • เดือนธันวาคม พ.ศ. 2521 ยานไพโอเนียร์-วินัส 1 และ 2 ทำการสำรวจพื้นผิวดาวศุกร์ ทำให้ทราบว่าดาวศุกร์มีเมฆหนาถึง 70 กิโลเมตร ชั้นบนสุดประกอบด้วยกรดซัลฟูริก • อุณหภูมิพื้นผิวสูงถึง 430 องศาเซลเซียส ความกดดันอากาศสูงกว่าโลก 91 เท่า พื้นผิวเป็นที่ราบแห้งแล้งคล้ายทะเลทรายมีร่องรอยจากลาวาภูเขาไฟในอดีตและหลุมอุกกาบาตเพียงเล็กน้อย ซึ่งสรุปได้ว่าไม่เหมาะกับสิ่งมีชีวิตใดๆ

  17. ดาวอังคาร • ได้ชื่อว่า “ดาวแดง” เทพเจ้าแห่งสงคราม เนื่องจากจะสังเกตเห็นเป็นดาวสีแดง • มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 2 ดวง ชื่อ “โฟบอส” (Phobos) และ “ไดมอส” (Deimos) • จากผลการสำรวจของยานไวกิ้งเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2518 • อังคารมีมวลเพียง 0.11 เท่าของโลก • บรรยากาศประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 95 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือเป็นไนโตรเจน คาร์บอนและก๊าซเฉื่อยต่าง ๆ มีน้ำเพียง 0.01-0.1 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น • อุณหภูมิที่ผิว ต่ำประมาณ -30 ถึง -50 องศาเซลเซียส แห้งแล้งและไม่พบสิ่งมีชีวิตชนิดใดเลย

  18. หน่วยวัดระยะทางทางดาราศาสตร์หน่วยวัดระยะทางทางดาราศาสตร์ • 1 AU = 150 ล้านกิโลเมตร คิดจากระยะห่างระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ • หน่วยปีแสง (ly) เป็นระยะทางที่แสงเดินทางได้ใน 1 ปี = 9.5 x 1012 km

  19. กลุ่มดาว (Constellations)

  20. เส้นสุริยะวิถีและกลุ่มดาวจักราศีเส้นสุริยะวิถีและกลุ่มดาวจักราศี

  21. ดวงจันทร์ (Moon) • ดวงจันทร์เป็นดาวเคราะห์บริวารและอยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3,476 กิโลเมตร • มีมวลเพียง 1 /81 ของโลกเท่านั้น แรงดึงดูดน้อยกว่าโลก 6 เท่า • พื้นผิวเต็มไปด้วยหลุมบ่อที่เรียกว่า “เครเตอร์” (crater) ตั้งแต่ขนาดเล็ก ๆ ไปจนถึงขนาดใหญ่หลายร้อยกิโลเมตร • ไม่มีน้ำ กลางวันร้อนจัดถึง 117 องศาเซลเซียส กลางคืนหนาวจัดถึง -173 องศาเซลเซียส และไม่พบว่ามีสิ่งมีชีวิตอยู่

  22. การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์ • ดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกประมาณ 384,600 กิโลเมตร • โคจรรอบโลกไปในทิศทางเดียวกับที่โลกหมุนรอบตัวเอง ใช้เวลา 29.5 วัน ใกล้เคียงกับการหมุนรอบตัวเองซึ่งกินเวลา 27.3 วัน • การที่ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง ใช้เวลาเกือบเท่ากับโคจรรอบโลก ทำให้เราซึ่งเป็นผู้สังเกตอยู่บนโลกมองเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียวอยู่เสมอ

  23. พื้นผิวของดวงจันทร์ • พื้นผิวของดวงจันทร์มีทั้งส่วนที่เป็นภูเขาและที่ราบอันกว้างใหญ่ ที่เรียกว่า “มาเรีย” (maria) ซึ่งเกิดจากลาวาของภูเขาไฟ • และบริเวณที่เป็นหลุมบ่อใหญ่น้อยที่เรียกว่า“เครเตอร์” (crater) ซึ่งเกิดจากอุกกาบาตพุ่งชนในอดีต ปัจจุบันไม่พบว่ามีเครเตอร์ใหญ่ ๆ เพิ่มขึ้น เนื่องจากไม่มีอุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งชนดวงจันทร์อีก

  24. น้ำขึ้น - น้ำลง

  25. ดิถีของดวงจันทร์

  26. ดิถีของดวงจันทร์

  27. โลก • ลักษณะภายในของโลกมี 4 ชั้น • แก่นโลกชั้นใน • แก่นโลกชั้นนอก • ชั้นแมนเทิล (The Mantle) • ชั้นเปลือกโลก (The Crust)

  28. เทคโนโลยีอวกาศ

  29. กล้องโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง

  30. กล้องโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง

  31. กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล

  32. กล้องโทรทรรศน์วิทยุ • หลักการของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ต้องใช้หลักการ ของการสะท้อนคลื่นวิทยุที่ได้รับ ซึ่งก็ต้องมีตัวสะท้อนและตัวรับคลื่น เช่นเดียวกับกล้องโทรทรรศน์ แบบใช้แสง เพียงแต่คลื่นวิทยุ มีขนาดของความยาวคลื่นมากกว่า มีความถี่ต่ำกว่า และมีพลังงานต่ำกว่า จึงต้องอาศัยขนาดของจานสะท้อน ที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ •  ภาพซ้ายมือแสดงกล้องโทรทรรศน์วิทยุ VLR (The Very Large Radio Telescope) ในประเทศแม็กซิโก ซึ่งประกอบด้วยจานรับคลื่นวิทยุ จำนวน 27 จาน ประกอบกันเสาวิทยุเสมือน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 36 กิโลเมตร

  33. ดาวเทียม • ดาวเทียม (อังกฤษ: Satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว ดาราจักร ต่างๆ

  34. ดาวเทียม • โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของดาวเทียมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ • โครงสร้างดาวเทียม • ระบบเครื่องยนต์ • ระบบพลังงาน • ระบบควบคุมและบังคับ • ระบบสื่อสารและนำทาง • อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง

More Related