1 / 13

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( CQI )

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( CQI ). การพัฒนาระบบนัด หน่วยงาน คลินิกโรคเรื้อรัง. เป้าหมาย. เพื่อให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลต่อเนื่อง ลดอัตราการขาดนัด. ปัญหา / โอกาสพัฒนา. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมารับบริการในคลินิกเฉลี่ยวันละ 90 – 110 ราย

erv
Télécharger la présentation

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( CQI )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) การพัฒนาระบบนัด หน่วยงาน คลินิกโรคเรื้อรัง

  2. เป้าหมาย • เพื่อให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลต่อเนื่อง • ลดอัตราการขาดนัด

  3. ปัญหา / โอกาสพัฒนา • ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมารับบริการในคลินิกเฉลี่ยวันละ 90 – 110 ราย • อัตราการผิดนัดค่อนข้างสูง สาเหตุของการผิดนัด 1. จากมียาเหลือ ทำให้ไม่ได้ดูวันนัด 2. ยาหมดก่อนวันนัด 3. ติดธุระในวันนัด 4. ดูวันนัดผิด 5. ผู้สูงอายุมาลำบาก ไม่มีญาติพามารับยา • อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น • เกิดความล่าช้าในการให้บริการเนื่องจากผู้มารับบริการเพิ่มมากขึ้น

  4. ตัวชี้วัด 1. อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยเบาหวาน < 8 % 2. อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง < 12 %

  5. กิจกรรมมีการพัฒนาระบบนัด โดย 1. วิเคราะห์สาเหตุเพื่อหาแนวทางแก้ไข 2. ชี้แจงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด 3. แยกนัดเป็นรายหมู่บ้าน และให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการนัด (วันที่สะดวกมา) 4. กรณีนัดแล้วแต่ติดธุระให้โทรศัพท์แจ้งเลื่อนวันนัดได้ (แต่ผู้ป่วยต้องไม่ขาดยา ) 5. โทรศัพท์ติดตามกรณีที่ผู้ป่วยแจ้งเบอร์โทรศัพท์ไว้ 6.สั่ง / จ่ายยาตรงตามจำนวนวันนัด และให้นำยาเก่าที่เหลือมาด้วยทุกครั้ง

  6. กิจกรรม ( ต่อ ) 7. ระบุวันนัด / สถานที่นัด เหตุผลการนัดให้ชัดเจน 8. ประสาน อ.ส.ม. ช่วยวัด BP / ตรวจ FBS ให้ในรายที่ไม่สะดวกมา และฝากรับยาแทนได้ 9. กรณีไม่มีญาติประสานทีมเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามดูแลต่อเนื่อง / จ่ายยาที่บ้าน 10. ผู้ที่มาผิดนัดครั้งแรกจะได้รับการตักเตือน 11. ผู้ที่มาผิดนัดครั้งที่ 2 จะได้รับการตรวจ และรับยาภายหลังจากตรวจผู้ที่มารับบริการตรงนัดแล้วเสร็จ

  7. กิจกรรม ( ต่อ ) 11. ประสานผู้นำชุมชนประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านเมื่อถึงวันนัดรับยา 12. ประสานเทศบาลในการจัดรถรับ - ส่งผู้ป่วยกรณีไม่มีญาติพามา

  8. ผลลัพธ์ จำนวนผู้มารับบริการ คลินิกเบาหวานปีงบประมาณ 2556 เดือน นัด ผิดนัด คิดเป็นร้อยละ • ต.ค.55 1,053 81 7.70 • พ.ย.55 1,006 53 5.26 • ธ.ค.55 751 58 7.73 • ม.ค.56 1,139 81 7.12 • ก.พ.56 908 58 6.39 • มี.ค.56 963 85 8.83

  9. ผลลัพธ์ จำนวนผู้มารับบริการ คลินิก HT ปีงบประมาณ 2556 เดือน นัด ผิดนัด คิดเป็นร้อยละ • ต.ค.55 926 93 10.05 • พ.ย.55 894 116 12.97 • ธ.ค.55 754 92 12.21 • ม.ค.56 783 94 12.01 • ก.พ.56 650 76 11.69 • มี.ค.56 934 108 11.61

  10. เดือน แผนภูมิแสดงจำนวนผู้มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรัง / ผู้ป่วยผิดนัด

  11. บทเรียนที่ได้รับ จากการพัฒนาระบบนัด ทำให้ผู้ป่วยได้รับบริการดูแลต่อเนื่อง ทั้งในคลินิกบริการ และเป็นข้อมูลส่งต่อทีมเยี่ยมบ้านในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย

  12. ขอบคุณค่ะ

More Related