1 / 28

AEC คือ อะไร ?

AEC คือ อะไร ?. AEC = ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. รวบรวมโดย : เยาว รัตน์ เรืองสาตรา นักวิชาการสหกรร์ ชำนาญการพิเศษ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community : AEC.

eryk
Télécharger la présentation

AEC คือ อะไร ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC คือ อะไร ? AEC = ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวบรวมโดย : เยาวรัตน์ เรืองสาตรา นักวิชาการสหกรร์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี

  2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community : AEC • เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน เกิดแนวคิดจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมี ยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ด้าน 1. การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลง ทุน แรงงานมีฝีมือ และเงินทุน อย่างเสรี 2. การสร้างขีดความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน เช่น กรอบนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาประเทศระหว่างสมาชิก 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เช่นการจัดทำเขตการค้าเสรี FTA ต้องการให้บรรลุผลภายในปี 2563 ต่อมาเร่งเวลาให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558

  3. อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 อาเซียน ASEAN (Association of South East Asian Nations) • ก่อตั้งเมื่อปี 2510(1967) ครบรอบ 40 ปีเมื่อปี 2550 • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก

  4. สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังเป็น AEC • อาเซียนจะรวมตัวเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน - อัตราภาษี เป็น 0 - มีการอำนวยความสะดวกทางการค้า ลดขั้นตอนพิธีการศุลกากร - การรับรองให้ผู้ส่งออกรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง เริ่ม 1 ม.ค. 2555 - ASEAN Trade Repository (แหล่งเก็บรักษาข้อมูลการค้าอาเซียน) - นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการสาขาต่าง ๆ ได้ร้อยละ 70 ลดข้อจำกัด/อุปสรรคในการให้บริการทุกรูปแบบ ตามกรอบข้อตกลงการค้าของ อาเซียน AFAS

  5. สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังเป็น AEC • บรรยากาศการค้าและการลงทุนเสรีมากขึ้น - เปิดเสรีการลงทุน คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมอำนวยความสะดวกการลงทุนครอบคลุมธุรกิจ 5 ภาค เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และภาคการผลิต - ปรับประสานนโยบายการแข่งขัน และทรัพย์สินทางปัญญา • มีเส้นทางการคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกันหมดในภูมิภาค • มีการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกที่เสมอภาคยิ่งขึ้น • มีการเชื่อมโยงกับประเทศภายนอกโดยเฉพาะประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (+6)อาเซียนจะเป็นภูมิภาคเปิด

  6. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ปรับปรุงCEPT(AFTA) เป็น ATIGA(ASEAN Trade in Good Agreement) • ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้นสินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้อง <5% ไทยมี 4 รายการ (กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง สินค้าในHighly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์, น้ำตาลของอินโดนีเซีย 6 CEPT : Common Effective Preferential Tariff

  7. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) • ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นายอำนวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539 3. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) • ลงนาม (โดย นายศุภชัย พานิชย์ภักดิ์) เริ่มใช้ ปี 2541

  8. สถานะการเปิดตลาดของไทย (สินค้าเกษตร 23 รายการ) โควต้านำเข้า ภาษี ปี 2552 ณ 1 มค 53 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลืองหอมหัวใหญ่ เมล็ดหอมหัวใหญ่ ไหมดิบ ใบยาสูบ กระเทียม 0% ยกเลิกแล้ว 5% ลำไยแห้ง ยกเลิกแล้ว 0% พริกไทย น้ำตาล น้ำมันถั่วเหลือง ยกเลิกแล้ว 0% 5% 5% มันฝรั่ง ยกเลิกแล้ว 20% มะพร้าว จะต้องยกเลิก ก่อน 1 มค 53 (กนศ มีมติแล้ว) 0% น้ำมันมะพร้าว ข้าว กาแฟสำเร็จรูป น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง นมผงขาดมัน 0% 5% 30, 25% 5% เมล็ดกาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง ชา 5% 0% เมล็ดถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม จะต้องยกเลิก/ ยังมีเงื่อนไขนำเข้า 0% 5% ยกเลิกแล้ว แต่ยังมีเงื่อนไขนำเข้า

  9. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ยกเลิกเป็นระยะ ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  10. แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายบริการเสรี ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนอาเซียน 2. เปิดเสรีการค้าบริการ ลอจิสติกส์ สาขาอื่น

  11. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement 3. เปิดเสรีลงทุน • ครอบคลุม ธุรกิจ 5 ภาค(เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต) และบริการที่ต่อเนื่อง • ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIAให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ - (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม/อำนวยความสะดวก) SBO(Substantial Business Operation) • Foreign-Owned ASEAN-Based Investor • Negative List Approachสามารถจะสงวนสิ่งที่ไม่ต้องการเปิดเสรีใน Reservation Lists

  12. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา ออกใบอนุญาตทำงาน • ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายนักเรียน เจ้าหน้าที่ภายใต้ความร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) • พัฒนากรอบแผนงานมาตรฐานความสามารถ-คุณสมบัติของงาน 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน

  13. ประเด็นสำคัญในการทำ FTA เพื่อเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ลดภาษีศุลกากร ลดมาตรการกีดกันอื่นๆ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า ความตกลงด้านสินค้า ลดข้อจำกัดต่างชาติในการเข้ามาลงทุน การทำงาน การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพ ฯลฯ ความตกลงการค้าบริการ เปิดตลาดการลงทุน ส่งเสริม และ คุ้มครองการลงทุนและนักลงทุน ความตกลงการลงทุน 13

  14. FTA และความร่วมมือเศรษฐกิจของไทยกับกลุ่มประเทศเอเชีย • อาเซียน • ASEAN Free Trade Area - AEC • จีน • ASEAN and China (ACFTA) (เปิดตลาดผักผลไม้ 1 ต.ค. 46 และเริ่มลดภาษีสินค้าทั่วไป 20 ก.ค.48) • GMS (Greater Mekong Sub Region) • EDBETC (ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าเชิงกว้างและเชิงลึกระหว่างไทยกับจีน) • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจรอบอ่าวเป่ยปู้ • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าไทยกับฮ่องกง (อยู่ระหว่างดำเนินการ) • ญี่ปุ่น • JTEPA (Japan – Thailand Economic Partnership) (ใช้เมื่อ 1 พ.ย. 50) • ASEAN – Japan Comprehensive Economic Partnership (AJCEP) (ใช้เมื่อ 1 มิ.ย. 52) • เกาหลีใต้ • ASEAN – Korea Free Trade Area (AKFTA) (ใช้เมื่อ 1 ม.ค. 53) • อินเดียและเอเชียใต้ • Thailand – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ก.ย.47) • ASEAN – India FTA (ใช้เมื่อ 1 ม.ค.53) • BIMSTEC FTA (อยู่ระหว่างการดำเนินการ) • อื่น ๆ • ASEAN + 3 (EAFTA) / ASEAN + 6 (CEPEA) อยู่ระหว่างดำเนินการ ขนาดตลาด 3,300 ล้านคน หรือ ½ โลก 14

  15. EAFTA (ASEAN+3 จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) • เป็นตลาดที่มีประชากร 2,000 ล้านคน (1/3 ของโลก) • เริ่มปี 2542 อาเซียน จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ต้องการร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า การเงิน สังคม และการเมือง โดยจีนและเกาหลีใต้เป็นผู้ผลักดัน • โครงการเด่น ได้แก่ Chiang Mai Initiativeเป็นความร่วมมือการบริหารอัตราแลกเปลี่ยนและทำตลาดพันธบัตรเอเชีย • คาดว่า EAFTA ทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 1.9%โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจาฯ ในส่วนของไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7%

  16. CEPEA (ASEAN+6 จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย) • มีประชากร 3,284 ล้านคน (1/2 ของโลก) • อาเซียนและ 6 ประเทศเห็นชอบให้มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนา CEPEA โดยญี่ปุ่นเป็นผู้ผลักดันเพื่อคานอำนาจกับจีน ครอบคลุม • การเปิดตลาดการค้าสินค้า/บริการ/ลงทุน • การอำนวยความสะดวกด้านการค้า/ลงทุน • ความร่วมมือการเกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน ICT สิ่งแวดล้อม และ SME ฯลฯ • ญี่ปุ่นยังสนับสนุนจัดตั้งสถาบันวิจัยเศรษฐกิจอาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) และผลักดัน New Development Initiatives เช่นEast Asia Industrial Corridor และ Trade Insurance • คาดว่า CEPEA จะทำให้ GDP เพิ่มขึ้น 2.1% โดยอาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าคู่เจรจา และไทยจะมี GDP เพิ่มขึ้น 7.3%

  17. AEC/FTA ทำให้ธุรกิจไทยต้องปรับตัว • การปรับตัวเชิงรุก • เสาะหาวัตถุดิบที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ • ศึกษารสนิยมและพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดต่างประเทศ เพื่อส่งออกสินค้า/บริการ • พัฒนาการจัดการภายในและการจัดการโลจิสติกส์ • พิจารณาย้ายฐานการผลิตไปยังตลาดที่มีศักยภาพด้านแรงงาน และบริโภค • เจาะตลาดประเทศคู่ค้า โดยใช้สิทธิประโยชน์จากการค้าเสรี • การปรับตัวเชิงรับ • เรียนรู้คู่แข่ง • เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน เพราะคู่แข่งจากต่างประเทศอาจเข้ามามากขึ้น • มัดใจลูกค้า • เรียนรู้คู่แข่ง และหาทางอยู่ร่วมกับเขาให้ได้

  18. การวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตรการวางแผนโซ่อุปทานอาหารและเกษตร Planning วางแผนความต้องการ วางแผนการผลิต Transport Distribution Centre Farmer Processing Stores Chackrit Duangphastra, PhD

  19. Global Food Supply Chain Trends เปลี่ยนจาก “ผลัก” สู่ “ดึง” Chackrit Duangphastra, PhD

  20. ความท้าทายใหม่ทางการค้าความท้าทายใหม่ทางการค้า • ต้องทำความเข้าใจความต้องการลูกค้า • รู้จักพฤติกรรมลูกค้า และพยากรณ์การผลิตและการส่งมอบได้ • กำหนดขีดความสามารถในการผลิต • รู้จักสร้างสมดุลย์ระหว่างความต้องการกับปริมาณผลิต • ใช้ประโยชน์จากการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ทางการค้า • ทำสินค้าให้มีคุณภาพและปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม • ปรับปรุงประสิทธิภาพของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่อง Chackrit Duangphastra, PhD

  21. 7 R in Management • 7Rs • Right Materials • Right Quantity • Right Time • Right Place • Right Source • Right Service • Right Price ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา

  22. ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเกษตรกร ไทย • ผู้ผลิตมีโอกาสซื้อวัตถุดิบ ผลิตผลทางการเกษตร ข้าว ข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง ราคาถูกจากประเทศในกลุ่มอาเซียน • ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่นที่มีค่าแรง วัตถุดิบราคาถูกกว่า • ผู้บริโภค มีโอกาสเลือกซื้อสินค้าเกษตร ผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป ต่าง ๆ ราคาถูก คุณภาพดี จากประเทศต่าง ๆ ได้มากขึ้น • โอกาสการตลาด ความต้องการสินค้า วัตถุดิบมากขึ้น สินค้าจะมีโอกาสส่งออกในกลุ่มอาเซียน หรือส่งออกในกลุ่มที่มีการทำ FTA มากขึ้น ถ้าสินค้าไทยสามารถแข่งขันได้ • ความต้องการพืชพลังงานทดแทนมีมากขึ้น ความต้องการยางพารามีมากขึ้น กลุ่มสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ในจังหวัดลพบุรี ข้าว โคนม อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง

  23. การปรับตัวของเกษตรกร และสหกรณ์ • การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ได้การรับรองมาตรฐาน • การลดต้นทุนการผลิต • การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ต้องปรับตัวเร็วขึ้น มีการแข่งขันมากขึ้น • สหกรณ์ต้องทำหน้าที่ ช่วยเหลือสมาชิกในการพัฒนาสินค้า • มีการรวมตัวสร้างเครือข่ายมากขึ้น • การใช้เทคโนโลยี • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร • ลดการใช้ทรัพยากร

  24. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในปี 2558 (ค.ศ.2015) โดยมีแนวคิดว่าอาเซียนจะกลายเป็นเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single market and production base นั่นหมายถึง จะต้องมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรี สามารถดำเนินกระบวนการผลิตที่ไหนก็ได้ โดยสามารถใช้ทรัพยากรจากแต่ละประเทศ ทั้งวัตถุดิบและแรงงานมาร่วมในการผลิต มีมาตรฐานสินค้า กฎเกณฑ์ กฎระเบียบเดียวกัน

  25. แนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญแนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญ ตลาดอาหารอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ความตื่นกลัวต่ออาหารที่ไม่ปลอดภัย และโรคระบาด กระแสสังคมเริ่มเน้นการบริโภคเพื่อสุขภาพ รักษาสิ่งแวดล้อม และสวัสดิภาพสัตว์ มีเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น สินค้าแข่งกันที่คุณภาพ ความตกลงภายใต้ WTO กำหนดให้การค้าอาหารระหว่างประเทศต้องอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์

  26. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับ ใช้กับสินค้าเกษตรที่ต้องควบคุมตามมาตรฐานบังคับ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค เครื่องหมายรับรองมาตรฐานทั่วไป ใช้กับสินค้าเกษตรที่รับรองตามมาตรฐานทั่วไป เพื่อส่งเสริมการผลิต/จำหน่ายสินค้าที่ได้มาตรฐาน ประเภทของเครื่องหมาย Q มาตรา 56 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานตามมาตรา 54 เว้นแต่เป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้า ที่ได้รับใบรับรองตามมาตรฐานบังคับ หรือมาตรฐานทั่วไป แล้วแต่กรณี

  27. ASEAN Standard for Horticultural Produceand Other Food Crops • มาตรฐานสินค้าเกษตรอาเซียนที่ประกาศรับรองแล้ว ได้แก่ ทุเรียน มะละกอ เงาะ ส้มโอ ส้มเปลือกร่อน มังคุด แตงโม ฝรั่ง ลองกอง มะพร้าวอ่อน กล้วย กระเทียม หอมแดง ขนุน แตงกวา เมล่อน สละกระเจี๊ยบเขียว มะม่วงหิมพานต์ พริกหวาน หอมใหญ่ และพริก • มาตรฐานที่อยู่ระหว่างพิจารณา ได้แก่ ชมพู่ ละมุด มะเขือยาว ฟักทอง และข้าวโพดหวาน • สินค้าเกษตรที่อยู่ในแผนกำหนดมาตรฐานอาเซียน ได้แก่ - ปี 2555 กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว มะขามหวาน กาแฟ และขมิ้น - ปี 2556 น้อยหน่า เห็ดหอม มันเทศหวาน ถั่วลิสง ชา และเมล็ดโกโก้

  28. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ • Website : www.dtn.go.th • Call Center : 02 – 507-7555

More Related