1 / 13

การบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต เข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต

การบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต เข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต. นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน b_bossy@hotmail.com. ๑. วงจรอุบาทแห่งความยากจน. ๒. แนวคิดการแก้ปัญหาความยากจน. ๔. กระบวนการแก้ปัญหาความยากจน. ๕.

eze
Télécharger la présentation

การบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต เข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เป้าชีวิต เข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน b_bossy@hotmail.com

  2. ๑. วงจรอุบาทแห่งความยากจน ๒. แนวคิดการแก้ปัญหาความยากจน ๔. กระบวนการแก้ปัญหาความยากจน ๕. การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ

  3. ๑. วงจรอุบาทว์แห่งความยากจน

  4. วงล้อสาเหตุและเงื่อนไขแห่งความยากจนตามห้วงระยะเวลาวงล้อสาเหตุและเงื่อนไขแห่งความยากจนตามห้วงระยะเวลา ขาดการศึกษา โรคอันเนื่องมาจากการบริโภค (โรคหัวใจ/โรคมะเร็ง/เบาหวาน/ความดันโลหิต) คนชราในครอบครัว ยาเสพติด (ยาไอซ์ ยาบ้า โคเคน) หนี้ในระบบ ครอบครัวแตกแยก เจ็บป่วย โรคประสาท โรคจิต โรคใหม่ ๆ ยาเสพติด (กัญชา ฝิ่น เฮโรอีน) ไม่มี งานทำ บริโภค (เกินความต้องการ) วัตถุนิยม (ฟุ้งเฟ้อ) หนี้นอกระบบ การเข้าถึง ความรู้และเทคโนโลยี บริโภค เกินความจำเป็น แม่เลี้ยงลูกคนเดียว ลูกมาก ก้าวไม่ทัน ความรู้และเทคโนโลยี ระยะด้อยพัฒนา (underdeveloped period) ระยะพัฒนาแล้วหรือ การก้าวสู่ความเป็นสมัยใหม่ (modernization period) ระยะกำลังพัฒนาหรือการก้าวสู่ความเป็นเมือง developing or unbanizationperiod)

  5. ความยากจน : ปัญหาเชิงเดียว หรือ ปัญหาเชิงซ้อน แนวคิดและแนวทางในการบูรณาการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนรายครัวเรือน มีแนวคิดสำคัญพื้นฐานอยู่ 3 แนวคิดประกอบด้วย • แนวคิดแรก ปัญหาความยากจนเกิดจากการที่ครัวเรือนยากจนมีการบริหารจัดการชีวิตที่ไม่เหมาะสม สามารถแก้ไขด้วยการบริหารจัดการชีวิต หรือการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต • แนวคิดที่สอง ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาเชิงซ้อน ไม่ใช่ปัญหาเชิงเดียว ไม่สามารถแก้ไขด้วยการส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนมีอาชีพและรายได้แต่เพียงอย่างเดียว • แนวคิดที่สาม ปัญหาความยากจนภายในครัวเรือนมีความหลากหลายของสาเหตุปัญหาและเงื่อนไขต้องเข้าไปบริหารจัดการเป็นรายครัวเรือน

  6. กระบวนการชี้เป้าชีวิตครัวเรือนยากจนกระบวนการชี้เป้าชีวิตครัวเรือนยากจน ชี้เป้าชีวิต ทำให้ครัวเรือนยากจนตระหนัก และยอมรับสาเหตุของ ปัญหาความยากจน วิเคราะห์สาเหตุและเงื่อนไข ความยากจนรายครัวเรือน สร้างและบูรณาการทีม ปฏิบัติการเพื่อเข้าถึง ครัวเรือนยากจน (ทีมเคาะประตูบ้าน) ตรวจสอบครัวเรือนยากจนจากส่วนราชการอื่นและข้อเท็จจริงในพื้นที่ (ประชาคม/ลงไปสำรวจรายครอบครัว) ระบุครัวเรือนยากจน จากข้อมูล จปฐ 3 ปี ย้อนหลัง

  7. กระบวนการจัดทำเข็มทิศชีวิต(แผนที่ชีวิต)กระบวนการจัดทำเข็มทิศชีวิต(แผนที่ชีวิต) จัดทำเข็มทิศชีวิต สร้างคลินิกหรือทีมงานพัฒนาเข็มทิศชีวิตระดับหมู่บ้าน ร่วมกันจัดทำเข็มทิศชีวิต ภายในครัวเรือนยากจน สร้างความเคารพในข้อผูกพัน ต่อเข็มทิศชีวิตที่จะเกิดขึ้น สร้างความรู้และความเข้าใจให้ ผู้นำชุมชนที่ร่วมทีมดำเนินการ สร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมทีมดำเนินการ

  8. บริหารจัดการชีวิต กระบวนการบริหารจัดการชีวิต ครัวเรือนยากจนบริหาร จัดการชีวิตตามเข็มทิศชีวิต บูรณาการส่วนราชการให้การปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน ส่วนราชการ เสนอเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิต บรรจุอยู่ในแผนชุมชน ชุมชนดำเนินการ บรูณาการเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิตอยู่ในแผนพัฒนาอำเภอและแผนพัฒนาจังหวัด บูรณาการเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิตอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท อำเภอ/จังหวัด ดำเนินการ ท้องถิ่นดำเนินการ

  9. ดูแลชีวิต กระบวนการดูแลชีวิต คลินิกหรือทีมงานพัฒนาชีวิตบูรณาการส่วนราชการ ผู้นำชุมชน/ติดตามความก้าวหน้าการบริหารจัดการชีวิต/ดูแลชีวิต สะท้อนภาพปัญหาในการดำเนินการเพื่อปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น เสนอเป้าหมายครัวเรือนยากจนที่ต้องดำเนินการ ในปีต่อไป ส่งเสริมสนับสนุนชุมชนในการดูแลประคับประคองชีวิต ปรับปรุงเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิตให้มีความสมบูรณ์/เหมาะสมยิ่งขึ้น

  10. กรอบแนวคิด กระบวนการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ๑. ความยากจนเกิดจากการบริหารจัดการชีวิตที่ไม่เหมาะสม สามารถแก้ไขด้วยการบริหารจัดการชีวิต ๒.ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาเชิงซ้อน ไม่ใช่ปัญหาเชิงเดียว ต้องแก้ไขเป็นรายครัวเรือน ๓. ปัญหาความยากจนต้องแก้ไขเป็นกระบวนการบูรณาการและใช้เวลาในการดำเนินการ กระบวนการที่ 1 ชี้เป้าชีวิต กระบวนการที่ 2 จัดทำเข็มทิศชีวิต กระบวนการที่ 3 บริหารจัดการชีวิต กระบวนการที่ 4 ดูแลชีวิต สร้างและบูรณาการทีม ปฏิบัติการเพื่อเข้าถึงครัวเรือนยากจน (ทีมเคาะประตู) สร้างคลินิกหรือทีมงาน พัฒนาเข็มทิศชีวิต ระดับหมู่บ้าน ครัวเรือนยากจนบริหารจัดการชีวิตตามเข็มทิศ คลินิกหรือทีมงานพัฒนาชีวิต บูรณาการส่วนราชการ ผู้นำชุมชน/ ติดตามความก้าวความก้าวหน้า การบริหารจัดการชีวิต/ดูแลชีวิต เสนอเข็มทิศชีวิต/แผนที่ ชีวิตบรรจุอยู่ในแผนชุมชน ระบุครัวเรือนยากจน จากข้อมูล จปฐ 3 ปี ย้อนหลัง สร้างความเข้าใจร่วมกัน ระหว่างเจ้าหน้าที่ ผู้ร่วมดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุนชุมชนในการดูแลประคับประคองชีวิต ตรวจสอบครัวเรือนยากจน จากส่วนราชการอื่นและ ข้อเท็จจริงในพื้นที่ (ประชาคม/ลงไปสำรวจรายครัวเรือน) บูรณาการเข็มทิศชีวิต/ แผนที่ชีวิตอยู่ในแผนพัฒนา อปท. แต่ละประเภท สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ผู้นาชุมชนที่ร่วมทีมดำเนินการ ปรับปรุงเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิตให้มีความสมบูรณ์/เหมาะสมยิ่งขึ้น วิเคราะห์สาเหตุและเงื่อนไข ความยากจนรายครัวเรือน สะท้อนภาพปัญหาในการดำเนินการเพื่อปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น ให้ดีขึ้น บูรณาการเข็มทิศชีวิต/แผนที่ชีวิตอยู่ในแผนพัฒนาอำเภอและแผนพัฒนาจังหวัด ร่วมกันจัดทำเข็มทิศชีวิต ภายในครัวเรือนยากจน ทำให้ครัวเรือนตระหนักและยอมรับสาเหตุของปัญหา ความยากจน สร้างความเคารพใน ข้อผูกพันต่อเข็มทิศ ชีวิตที่จะเกิดขึ้น บูรณาการส่วนราชการ/ อปท.ให้การปฏิบัติการ เพื่อแก้ไขครัวเรือนยากจน เสนอเป้าหมายครัวเรือนยากจน ที่ต้องดำเนินการในปีต่อไป

  11. การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ ๑. บทบาทในการชี้เป้าชีวิตก่อนให้ได้ครัวเรือนยากจนจริงๆ มีปัญหาต้องการการดูแลและแบ่งประเภทให้ชัดเจน ๒. บทบาททีมปฏิบัติการตำบล คือ ๒.๑ ผู้บริหารจัดการขับเคลื่อนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน โดยการจัดทำแผนที่ชีวิต ครัวเรือนยากจน โดยทีม (ผู้นำ อช./ครอบครัวพัฒนา/ปลัดอำเภอ) ๒.๒ บริหารจัดการชีวิต นำปัญหาและความต้องการที่มีอยู่ในแผนชีวิต/ เข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนให้ * ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมแก้ปัญหาโดยใช้งบประมาณของหน่วยที่รับผิดชอบตามภารกิจ * ให้ อปท. เข้ามาสนับสนุนและตั้งงบประมาณโครงการแก้ไขปัญหา โดยให้บรรจุอยู่ในแผนของ อปท. * ทำให้ ผวจ.นำโครงการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ไปกำหนดไว้ในแผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนาอำเภอ

  12. การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ๓. ทีมปฏิบัติการตำบลคอยดูแลให้โครงการ/แผนงานระดับต่างๆ ให้เข้าไปแก้ปัญหาของครัวเรือนยากจนตามแผนชีวิตของแต่ละครัวเรือน ๔. ทีมปฏิบัติการตำบล คอยติดตามดูแลการแก้ปัญหาของครัวเรือนยากจน ๔.๑ แก้ปัญหาของตนเอง (ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) ๔.๒ ชุมชนเข้ามาโอบอุ้มดูแลอย่างไร ๔.๓ ส่วนราชการยึดครัวเรือนยากจนเป็นเป้าหมาย/ยึดแผนที่ชีวิตเป็น แนวทางการดำเนินงาน ทีมปฏิบัติการตำบล คอยดูแลชีวิต ให้กำลังใจครัวเรือนยากจน ปรับปรุงแผนที่ชีวิต ให้เหมาะสม ๕.

  13. Q&A นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน b_bossy@hotmail.com

More Related