2.78k likes | 5.23k Vues
การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร. ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์. แหล่งที่มาของพลังงาน. ของแข็ง-ถ่าน ถ่านหิน ไม้ แกลบ ของเหลว-น้ำมัน ก๊าซ NGV CNG LPG. ความรู้เรื่องถ่านหิน.
E N D
การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กรการสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์
แหล่งที่มาของพลังงาน • ของแข็ง-ถ่าน ถ่านหิน ไม้ แกลบ • ของเหลว-น้ำมัน • ก๊าซ NGV CNG LPG
ความรู้เรื่องถ่านหิน ถ่านหิน (coal)มีสถานะเป็นของแข็ง ไม่มีรูปผลึกที่แน่นอน โดยทั่วไปมีสีเข้มตั้งแต่สีน้ำตาลถึงสีดำสนิท ประกอบด้วย คาร์บอน สารระเหย ความชื้น และแร่ธาตุต่างๆ ในปริมาณน้อย ถ่านหินเป็นทรัพยากร ธรรมชาติที่มีคุณค่ามากเพราะเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ และสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เป็นอย่างดี 3
การกำเนิดถ่านหิน ถ่านหินเกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ใช้เวลาหลายล้านปีของซากพืช ภายใต้ความดันและความร้อนมาเป็นพีต (peat), ลิกไนต์ (lignite), ซับบิทูมินัส (sub bituminous), บิทูมินัส (bituminous) และแอนทราไซท์ (anthracite) ตามลำดับ ถ่านหินตามแหล่งต่างๆในโลกนี้ จึงมีคุณสมบัติต่างกันขึ้นกับชนิด ซากพืช อายุการเปลี่ยนแปลง และสภาพแวดล้อมของ แหล่งที่เกิด ที่มา: http://www.uky.edu/KGS/coal/coalform.htm 4
flooded forest or swamp sediment lignite Peat coal
การจำแนกถ่านหิน การจำแนกถ่านหินมีหลายระบบ ที่ใช้กันมากได้แก่ การจำแนกถ่านหินตาม rank ค่า rank เป็นการวัดค่าความสมบูรณ์ของการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่กลายเป็นถ่านหิน America Society for Testing Materials (ASTM) ได้กำหนดค่าสมบัติของถ่านหินเป็นเกณฑ์ในการจำแนกถ่านหินเป็น Anthracite, Bituminous , sub-bituminous และ lignite ที่มา: http://www.uky.edu/KGS/coal/coalkinds.htm 5
การจำแนกถ่านหิน เปรียบเทียบธาตุองค์ประกอบ 11
คำศัพท์เกี่ยวกับถ่านหินคำศัพท์เกี่ยวกับถ่านหิน VOLATILE MATTER คือ สารระเหย ( ก๊าซ และ Tar ) ที่อยู่ในถ่านหิน เป็นตัวกลางที่ทำให้ถ่านหินเกิดการติดไฟก่อนที่จะเผาไหม้ คาร์บอนซึ่งอยู่ในถ่านหิน ถ่านหินที่มีปริมาณ Volatile สูงจะทำให้ติดไฟง่าย และลุกไหม้อย่างรวดเร็วแต่ถ่านหินที่มีปริมาณ Volatile ต่ำจะเกิดการติดไฟยาก และลุกไหม้อย่างช้าๆ 15
ค่าความร้อน(AD) x (100 - %Total Moisture) การคำนวณหาค่าความร้อน ( AR ) = (100 – %Inherent Moisture) การวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหิน การรายงานค่าความร้อน • As Receive (AR) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิดความร้อน ในขณะที่มีความชื้น Total Moisture จึงทำให้ค่าความร้อนที่ได้ต่ำที่สุดจึงเป็นค่าความร้อนในการใช้งานจริง 18
การวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหินการวิเคราะห์คุณสมบัติถ่านหิน การรายงานค่าความร้อน • Air Dry (AD) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิดความร้อนหลังจากผ่านการอบ Free Moisture ออกจึงทำให้ ค่าความร้อนสูงกว่าในสภาวะ As Received ค่าความร้อนที่ได้นี้จะได้จากห้องทดลองเท่านั้น • Dry Basis (DB) เป็นการเผาถ่านหินให้เกิด ความร้อนหลังจากผ่านการอบ Free Moisture และ Inherent Moisture ออกทั้งหมด จึงทำให้ค่าความร้อนที่ได้สูงมากค่าความร้อนที่ได้นี้จะได้จากห้องทดลองเท่านั้น 19
แนวโน้มอุตสาหกรรม ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท ที่มา: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม 21
แนวโน้มอุตสาหกรรม ปริมาณการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท 22
แนวโน้มอุตสาหกรรม มูลค่าการนำเข้าถ่านหินแยกตามประเภท 23
ข้อมูลอ้างอิง กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ. 2545. การกำเนิดถ่านหิน (Online). http://www.dmf.go.th/petro_focus/coal.emerging.asp, 11 ตุลาคม 2551. บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน). 2551. ธุรกิจและผลิตภัณฑ์ (Online). http://www.umspcl.com/thai/business_analysis.php, 31 ตุลาคม 2551. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร, รองศาสตราจารย์ ดร. การจัดจำแนกชนิดถ่านหิน (Classification of Coals). ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (เอกสารไม่ตีพิมพ์) สันชัย รักจุล, นาย. 2551. พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) (Online). http://energy.skt.ac.th/Fossil%20Fuel1.html, 11 2551. The Kentucky Geological Survey, University of Kentucky. 2006. General Coal Information (Online). http://www.uky.edu/KGS/coal/coal_information.htm, 11 October 2008. 33
การอนุรักษ์พลังงานและนโยบายพลังงานของไทยการอนุรักษ์พลังงานและนโยบายพลังงานของไทย
การอนุรักษ์พลังงาน มนุษย์อาศัยพลังงานเพื่อการดำรงชีวิต อาหารทำให้เกิดพลังงานสะสมในร่างกาย และมนุษย์นำพลังงานนั้นไปใช้เครื่องไหวอวัยวะต่าง ๆ ต่อมา มนุษย์รู้จักใช้พลังงานจากสัตว์ให้ทำงานแทน รู้จักนำพลังน้ำ พลังงานลมมาใช้ประโยชน์ และยังพบว่าแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย ต่อมามนุษย์ค้นพบถ่านหิน ค้นพบของเหลวสีดำที่เรียกว่าน้ำมันดิบ และนำมากลั่นเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นแหล่งพลังงานในปัจจุบัน
การอนุรักษ์พลังงาน แหล่งพลังงาน แหล่งพลังงานที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์อย่างจริงจังมีด้วยกัน 8 แหล่ง คือ 1.พลังงานเคมี 2.พลังงานนิวเคลียร์ 3.พลังงานน้ำ 4.พลังงานจากแสงอาทิตย์ 5.พลังงานลม 6.พลังงานจากชีวมวล 7.พลังงานความร้อนใต้พิภพ 8.พลังงานจากทะเล
การอนุรักษ์พลังงาน สถานการณ์การใช้พลังงาน
การอนุรักษ์พลังงาน ตัวอย่างการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน การอนุรักษ์พลังงานโรงงาน ได้แก่ 1.การปรับปรุงประสิทธิภาพในการเผาไหม้เชื่อเพลิง 2.การป้องกันการสูญเสียพลังงาน 3.การนำพลังงานที่เหลือจากการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 4.การเปลี่ยนไปใช้พลังงานอีกประเภทหนึ่ง 5.การปรับปรุงการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธีปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า 6.การใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง 7.การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวง
การอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ได้แก่ 1. การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร 2. การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมทั้งการรักษาอุณหภูมิภายในอาคารให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม 3. การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่จะช่วยอนุรักษ์พลังงาน ตลอดจนการแสดงคุณภาพของวัสดุก่อสร้างนั้น ๆ 4. การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ 5. การใช้และการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร 6. การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ 7. การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวง
นโยบายพลังงานของไทย การกำหนดนโยบายพลังงานต้องก่อให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานภายในประเทศ โดยให้เกิดความสมดุลระหว่างความต้องการใช้พลังงานกับการจัดหาพลังงาน ซึ่งหลักการในการกำหนดนโยบายนั้นต้องมีความชัดเจน ให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมระบบการค้าเสรี และให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งประเทศไทยมุ่งเน้นนโยบายหลัก 4 ประการ
นโยบายพลังงานของไทย นโยบายพลังงานของไทย 1.นโยบายด้านความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงาน 2.นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน 3.นโยบายราคาและการปฏิรูปตลาดพลังงาน 4.นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมพลังงาน
นโยบายพลังงานของไทย 1.นโยบายด้านความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงาน 1.1การสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน • มีแหล่งสำรองพลังงานที่มีปริมาณเพียงพอและแน่นอน เพื่อความมั่นคงในการจัดหา • มีการกระจายแหล่งพลังงานและชนิดพลังงานเพื่อลด ความเสี่ยง โดยการหลีกเลี่ยงการพึ่งพาพลังงานจาก แหล่งเดียวหรือพลังงานชนิดเดียว • มีโครงสร้างราคาที่มีความเหมาะสม เป็นธรรม และ ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ • คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ ชุมชนและท้องถิ่น • ต้องใช้ทรัพยากรพลังงานภายในประเทศ ที่มีอยู่อย่าง จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเหมาะสมกับคุณค่าของ ทรัพยากร
นโยบายพลังงานของไทย 1.2การปรับประเทศให้เป็นศูนย์กลางพลังงานในภูมิภาค • พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการค้าขายพลังงาน โดยปรับโครงสร้างและบทบาทจากผู้ซื้อมาเป็นผู้ค้าพลังงานในอนาคต • สร้างมูลค่าเพิ่มจากการซื้อขายพลังงานที่เพิ่มขึ้น • พัฒนาเส้นทางยุทธศาสตร์การขนส่งน้ำมันทางภาคใต้ของประเทศ
นโยบายพลังงานของไทย 2.นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน 2.1แผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน • ศึกษา วิจัย พัฒนา และส่งเสริมเพื่อก่อให้เกิดการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้นในการผลิตไฟฟ้า ความร้อน และการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ เพื่อใช้ในภาคคมนาคมขนส่ง ภาคอุตสหกรรม บ้านอยู่อาศัย • เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านพลังงานหมุนเวียน • เผยแพร่ข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนทั่วไป ให้รู้จักพลังงานทดแทนและสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐ
นโยบายพลังงานของไทย 2.2แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • ศึกษา วิจัยพัฒนา และส่งสริมเพื่อก่อให้เกิดการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในภาคคมนาคม ขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม บ้านอยู่อาศัย • เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • สร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้มีการใช้พลังงาน อย่างรู้คุณค่า
นโยบายพลังงานของไทย 2.3แผนงานบริหารเชิงกลยุทธ์ • ศึกษาวิจัยเชิงนโยบายเพื่อเป็นขช้อเสนอแนะ ทางเลือกในการพัฒนาแผนพลังงานทดแทน และ แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • บริหารจัดการให้แผนอนุรักษ์พลังงานดำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการดำเนินงานอื่น ๆ ที่มีความสำคัญหรือ มีความเร่งด่วน
นโยบายพลังงานของไทย 3.นโยบายราคาและการปฏิรูปพลังงานทดแทน 3.1การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 3.2การส่งเสริมการแข่งขันในธุรกิจพลังงาน 3.3การปราบปรามการค้าน้ำมันเถื่อน 3.4การกำจัดถังก๊าซหุงต้มที่ผิดกฏหมาย
นโยบายพลังงานของไทย 4.นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมพลังงาน • ปรับปรุงกฏระเบียบเรื่องความปลอดภัยและเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อม • ขยายพื้นที่บังคับใช้น้ำมันเตากำมะถันต่ำ • ปรับปรุงข้อกำหนดคุณภาพน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล • แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากน้ำมันหล่อลื่น • ส่งเสริมให้มีการใช้เชื้อเพลิงสะอาดกับรถยนต์ • สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งมวลชน
น้ำมันเชื้อเพลิง ไฟฟ้า และพลังงานอื่นๆ • เราสามารถลดปริมาณการใช้ได้ดี หากเราเข้าใจเชื้อเพลิงที่ใช้ในเชิง ปริมาณ คุณภาพ ต้นทุน และ เวลา
ตัวอย่างการจัดทำแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงานตัวอย่างการจัดทำแผนปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน • ความเป็นมา • นโยบายของรัฐบาล • นโยบายของ กทม. • สภาวะเศรษฐกิจ • แหล่งพลังงานลดน้อยลง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เป็นแนวทางการประหยัดพลังงาน • ของกรุงเทพมหานคร • 2. ข้อมูลในการศึกษาพัฒนาในเชิงลึก
ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้องทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง • กฎของ Pareto ( 20 : 80 ) • การบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM) • การบริหารแบบมีส่วนร่วม • กระบวนการประหยัดพลังงานของกระทรวงพลังงาน • วิธีการคำนวณหน่วยไฟฟ้าเพื่อการประหยัด • การดูแลบำรุงรักษารถยนต์ • ผลการศึกษาดูงาน
การประหยัดพลังงานในหน่วยงาน กระทรวง.... กรก. ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สนข...... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สนข...... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน ประหยัดพลังงาน 15 % สรุปผล สนข....... ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน ศบส 4567 ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน สยป. ค่าใช้จ่ายและกำหนดประเภท ของพลังงานที่จะลดค่าใช้จ่าย ปัจจัย โอกาส/ อุปสรรค แนวทาง ดำเนินงาน
กลยุทธ์ และแนวทางดำเนินการ • กำหนดมาตรการเฉพาะองค์กร • 1.1 มาตรการที่สามารถดำเนินการได้ทันที • 1.2 มาตรการสนับสนุน • ด้านบุคลากร • ด้านนวัตกรรมและการลงทุน
มาตรการที่ปฏิบัติได้ทันทีมาตรการที่ปฏิบัติได้ทันที • ใช้รถเฉพาะในราชการ / ห้ามใช้เพื่อส่วนตัว • นโยบาย • เลือกใช้รถยนต์คันที่ประหยัดน้ำมันให้มากที่สุด • วางแผนก่อนเดินทาง • สนับสนุน • ส่งเอกสารราชการให้หน่วยงานภายนอกในกรณีไม่เร่งด่วน • หรือราชการไม่สำคัญ • ปรับปรุงยานพาหนะ • หลีกเลี่ยงทางที่การจราจรติดขัด และใช้เส้นทางลัดให้มากที่สุด
มาตรการสนับสนุน • จัดให้มีอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบเติมลมยาง เป่ากรองอากาศ • แก้ไขกฎหมายระเบียบ • 3. นำเอาพลังงานทดแทนใช้แทนน้ำมัน • ด้านบุคลากร • สร้างจิตสำนึกโดยการจูงใจ และจัดให้มีการแข่งขันโดยมีรางวัลตอบแทน • 2. การดูแลรักษารถ • 3. ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน (Car Pool)
ด้านนวัตกรรม • ปรับระบบเครื่องยนต์ให้นำก๊าซ NGV แก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซลใช้แทนน้ำมัน • ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการออกนอกเส้นทาง (GPS) • 3. ติดตั้งอุปกรณ์จำกัดความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 654 2,616 19,882 65,400 14,912 49,050 1,962 4,970 16,350
สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 456 1,824 14,300 45,600 10,725 34,200 1,368 3,574 11,400 2,472 23,336 61,800 18,669 494 1,978 4,667 12,350 49,450
สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 480 2,400 23,404 60,000 48,000 18,432 1,920 4,608 12,000
สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายเทศกิจ 2,952 34,243 73,800 34,243 2,952 73,800 52,100 114,801 306,600 254,500 12,264 96,972 10,180 17,820 2,084
สำนักงานเขต..... • มาตรการ • รูปธรรม • 1 .การปรับปรุงและวางแผนการเก็บขนมูลฝอย • 2. จัดเส้นทางการเดินรถ (Route Map) • 3. การกำหนดเวลาทิ้ง เวลาเก็บ • 4. กำหนดจุดพักขยะ • 5. การจัดขนาดรถให้เหมาะสมกับสถานที่ (ถนน, ซอย) มาตรการสนับสนุน 1. ต้องดูแลบำรุงรักษาเครื่องยนต์และอุปกรณ์เกี่ยวกับรถทั้งหมด 2. สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการคัดแยกขยะและการทำปุ๋ยชีวภาพ
สำนักงานเขต..... • ด้านบุคลากร • 1. พัฒนาคุณภาพเจ้าหน้าที่ โดยให้เก็บขนมูลฝอยมากองไว้ • 2. ชี้แจงนโยบายการประหยัดน้ำมัน • 3. สร้างแรงจูงใจ เมื่อลดปริมาณน้ำมันที่ใช้ แล้วมีการมอบรางวัล • 4. จัดการประกวดและมอบรางวัล ด้านการลงทุน 1. ใช้ระบบกล่องดำ 2. รถขยะทุกคันติดกล่องดำเพื่อควบคุมพฤติกรรมการขับรถ
สรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะสรุปการใช้งบประมาณค่าพลังงานของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สำนักงานเขต....... 345,600 115,200 2,880,000 2,038,284 564,228 1,692,684 679,428 14,150,700 16,985,700
กองโรงงาน.... • มาตรการ • สามารถดำเนินการได้ทันทีและเห็นผลชัดเจน • 1. การจัดหาสถานที่จอด เพื่อลดระยะทางในการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง • 2. ใช้รถตู้ขนาด 12 – 15 ที่นั่งแทนรถบัสบริการ (สายบางนา-สำโรง) • 3. ลดจำนวนในการรับ-ส่งหนังสือต่อวัน (จากเดิม 2 ครั้ง/วันเป็น 1 ครั้ง/วัน) • 5. การสตาร์ทเครื่องยนต์ของเครื่องปั๊มลมและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (ติดตั้งในรถโมบาย • สตาร์ทเครื่องยนต์เมื่อมีการปฏิบัติงานจริงและต่อเนื่องเท่านั้น • 4. ใช้ระบบ CAR POOL ทางเดียวกันไปด้วยกัน
กองโรงงาน..... • มาตรการสนับสนุน • 1. การใช้รถอย่างถูกวิธี ตรวจสอบรถก่อนใช้งานต้องอยู่ในสภาพดี • 2. การตรวจสอบยางรถยนต์ ถูกต้องตามมาตรฐานกำหนด • 3. การนำสิ่งของสัมภาระที่ไม่จำเป็นออกจากรถ • 4. การใช้เกียร์กับความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่เหมาะสม • 5. การปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมและถูกวิธี • 6. ไม่ควรสตาร์ทเครื่องยนต์พร้อมกับเปิดระบบไฟแสงสว่าง, วิทยุ ,เครื่องปรับอากาศ • 7. ไม่ควรอุ่นเครื่องยนต์ก่อนเคลื่อนตัวรถ • 8. ใช้ขนาดกำลังของเครื่องยนต์ที่เหมาะสมกับงาน • 9. การบำรุงรักษาตามวาระ, การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง, เปลี่ยนไส้กรองน้ำมันเครื่อ • ไส้กรองเชื้อเพลิง และไส้กรองอากาศ และจุดหล่อลื่นระบบส่งกำลัง • 10.ไม่ขับก็ดับเครื่องยนต์
กองโรงงาน.... • ด้านบุคลากร • 1. การอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้รถอย่างมีประสิทธิภาพ • 2. การวางแผนก่อนการเดินทาง, สำรวจเส้นทาง • 3.ไม่ขับก็ดับเครื่องยนต์ • 4. การให้รางวัล
สรุป จำนวนน้ำมันที่ใช้ทั้งหมดจำนวน = 171,012 ลิตร/ปี ประหยัดตามนโยบาย 15 % = 25,651 ลิตร/ปี จากผลการดำเนินการประหยัดได้ 16.53 % = 28,251 ลิตร/ปี
สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล อุปสรรค • ภายนอก • ต้นทุนเทคโนโลยีสูง • ต้องใช้เวลาในการสร้างความร่วมมือภายนอก • ภายใน - มาตรการไม่ต่อเนื่อง, ไม่เข้มงวด • สภาพแวดล้อมทางกายภาพไม่อำนวย • อุปกรณ์ไฟฟ้ามีสภาพเก่า • บุคลากรบางส่วนขาดความตระหนัก,จิตสำนึก