1 / 57

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัด

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัด. โดย อาจารย์ คชาภูมิ ศิริชนะชัย ประธานบริษัท เดวิดแอนด์หลุย์ จำกัด นายกสมาคม Thai Intertrader ที่ปรึกษาอิสระ หมายเลข 1772 ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย กระทรวงการคลัง. คำถามเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การจัดทำยุทธศาสตร์ OTOP.

faunia
Télécharger la présentation

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัด โดย อาจารย์ คชาภูมิ ศิริชนะชัย ประธานบริษัท เดวิดแอนด์หลุย์ จำกัด นายกสมาคม Thai Intertrader ที่ปรึกษาอิสระ หมายเลข 1772 ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย กระทรวงการคลัง ยุทธศาสตร์ OTOP

  2. คำถามเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การจัดทำยุทธศาสตร์ OTOP อะไรคือสินค้า OTOP • สินค้า OTOP คือ “สินค้าที่มาจาก หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” • จะทำ Positioning สินค้า OTOP อย่างไร • ใครคือผู้ซื้อสินค้า OTOP • ตลาดสินค้า OTOP เป็นตลาดแบบใด • จะวางแผนยุทธศาสตร์สินค้า OTOP ในกฏเกณฑ์อะไร (Strategic Formulation) • จำเป็นต้องมีกลุ่มยุทธศาสตร์ร่วม(Strategic Groups)หรือไม่ ยุทธศาสตร์ OTOP

  3. 2.3 2.2 2.1 2 1.1 1.2 1 ลูกค้า OTOP ผู้ประกอบการ OTOP เครือข่าย ผู้ประกอบการ OTOP มุ่งเน้นประเด็นเกี่ยวกับลูกค้า (Customer Focus) ความสามารถในการแข่งขันหลัก (Core Competency) เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Net work) คุณค่า Value Value Exploration Value Creation Value Delivery ยุทธศาสตร์ OTOP

  4. 1 ผู้ประกอบการ OTOP ความสามารถในการแข่งขันหลัก (Core Competency) 1/1 การศึกษาวิเคราะห์ความสามารถ (Competency Space) ใน 1/1 จะมี 1/2 ได้แค่ไหนหรือในทางกลับกัน 1/2 ขอบเขตการทำธุรกิจ (Business Domain) ใน 1/2 ต้องมีความพร้อมใน1/3 ทางกลับกันแค่ไหนหรือในทางกลับกัน 1/3 การบริหารทรัพยากรภายใน (Internal Resource Management) ยุทธศาสตร์ OTOP

  5. ความสามารถหลัก (Core Competency) • ความรู้ • ทักษะ • เทคโนโลยี • ความพร้อมด้าน ทรัพยากรต่างๆ เพื่อรักษาหรือเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน ที่ทำให้คู่แข่งตามไม่ทันหรือลอกเลียนแบบได้ยาก ยุทธศาสตร์ OTOP

  6. การศึกษาวิเคราะห์ความสามารถของผู้ประกอบการ (Competency Space) ทำเรื่องหลัก 2 เรื่องคือ 1. ตรวจสอบความสามารถด้านการตลาด (Marketing Audit) 2. ตรวจสอบความสามารถด้านวิธีการคิดแผนการตลาด (Marketing Excellence Review) หมายเหตุ : ทำได้โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ยุทธศาสตร์ OTOP

  7. ระดับที่ 1 ตลาดพื้นบ้าน (Domestic Market) ระดับที่ 2 ตลาดท้องถิ่น (Local Market) ระดับที่ 3 ตลาดภูมิภาค (Regional Market) ระดับที่ 4 ตลาดประเทศ (National Market) ระดับที่ 5 ตลาดส่งออก (Export Market) ในทุกตลาดจะต้องพิจารณาหลักเกณฑ์สำคัญดังนี้ 1. วัดผลได้ (Measurable) 2. มีกำไรพอ (Substantial) 3. เข้าถึงได้ (Accessible) 4. สามารถสร้างความแตกต่างได้ (Differentiable) 5. สามารถลงมือปฏิบัติงานด้านการตลาดได้ (Actionable) ขอบเขตธุรกิจ (Business Domain) อาศัยสัดส่วนการตลาดในเชิงภูมิศาสตร์ (Geographic Segmentation ) ซึ่งแบ่งตลาดออกเป็น 5 ระดับดังนี้ หมายเหตุ:ในตลาดทุกระดับ มีโอกาสทางการตลาด ( Marketing Opportunity) แตกต่างกัน ยุทธศาสตร์ OTOP

  8. ขอบเขตธุรกิจ ( Business Domain)ต่อ ในตลาดทุกระดับโอกาสทางการตลาด( Marketing Opportunity) ย่อมเปลี่ยนไป ดังนั้นในตลาดทุกระดับจะต้องทำสิ่งสำคัญดังต่อไปนี้ • การวิเคราะห์ตลาด (Marketing Analyze) • Market Demand (ความต้องการตลาด) • Marketing Environment (สภาพแวดล้อมทางการตลาด) • Consumer Market and Buying Behaviors (ตลาดผู้บริโภคและพฤติกรรมผู้บริโภค) • Competition (การแข่งขัน) • การสร้างความพึงพอใจใหลูกค้าและการรักษาลูกค้า (Building Customer Satisfaction and Retention) • การวางแผนกลยุทธ์โดยอาศัยการตลาดเป็นตัวนำ (Market-Oriented Strategic Planning) ยุทธศาสตร์ OTOP

  9. การบริหารทรัพยากรภายใน (Internal Resource Management) ขอบเขตการทำธุรกิจ (Business Domain) ในแต่ละระดับจะกำหนดตามความ “เข้มข้น” ของความต้องการในการบริหาร “ทรัพยากร” ภายใน (Internal Resource Management) ที่แตกต่างกันไปในทรัพยากรหลัก (Core Resource) ต่อไปนี้ 1.Human Resource (บุคคล) 2. Financial Resource (การเงิน) 3. Technology Resource (ความรู้และวิทยาการ) ยุทธศาสตร์ OTOP

  10. การบริหารทรัพยากรภายใน (ต่อ)(Internal Resource Management) 4. Product/Production Resource (สินค้าและกระบวนการผลิต) 5. Information Resource (ข้อมูลข่าวสาร) 6. Market Resource (ตลาด) หมายเหตุ :การมีความพร้อมในทรัพยกรต่างๆและการบริหารในแต่ละทรัพยากรมีผลต่อความสามารถในการทำ “ กิจกรรมทางการตลาด” ( Marketing Activities) ในแต่ละขอบเขตการทำธุรกิจ ( Business Domain) ยุทธศาสตร์ OTOP

  11. 1.2 ลูกค้า OTOP มองลึก Customer Focus 1.2/1 พัฒนาความรู้และความเข้าใจ Cognitive Space เมื่อรู้ 1.2/1 แล้วนำมาหา 1.2/2 หรือในทางกลับกัน 1.2/2 ผลประโยชน์ของลูกค้า Customer Benefit จาก 1.2/2 วิวัฒนาการมาเป็น 1.2/3 หรือในทางกลับกัน 1.2/3 บริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า Customer Relationship Management ยุทธศาสตร์ OTOP

  12. Customer Focus จะทำสินค้า OTOP ให้มีคุณค่า (value) แก่ผู้ซื้อได้อย่างไร? คุณค่าแก่ผู้ซื้อ = ประโยชน์ที่ผู้ซื้อได้มา (customer benefits) (customer value) ต้นทุนที่ผู้ซื้อเสียไป (customer costs) = Functional Benefits + Emotional Benefits Cost:Monetary + Time + Energy + Psychic = คุ้มหรือไม่คุ้ม? “ถ้าคุ้มก็มีคุณค่า ยุทธศาสตร์ OTOP

  13. Total Customer Value Total Customer Cost Customer Focus ต่อ Customer Deliver Value = Total Customer Value Total Customer Costs คุณค่าด้านสินค้า Product Value Monetary Cost ต้นทุนตัวเงิน คุณค่าด้านบริหาร Service Value Time Cost ต้นทุนด้านเวลา คุณค่าด้านบุคคล Personnel Value Energy Cost ต้นทุนด้านแรงงาน คุณค่าด้านภาพลักษณ์ Image Value Psychological Cost ต้นทุนด้านจิตใจ ยุทธศาสตร์ OTOP

  14. Customer Focus ต่อ จะสร้างสิ่งเหล่านี้ให้ลูกค้า OTOP ได้ด้วยวิธีไหน? ความพึงพอใจของลูกค้า = ผลลัพธ์ (Outcome) (Customer Satisfaction) ความคาดหวัง (Expectations) = “ ผลลัพธ์ได้ตามที่คาดหวัง” ยุทธศาสตร์ OTOP

  15. Customer Focus ต่อ ความปลื้มปิติของลูกค้า = ผลลัพธ์ - มาก (More Outcome) (Customer Delight) ความคาดหวัง (Expectation) = “ได้ผลลัพธ์มากกว่าที่คาดหวัง” ความภักดีของลูกค้า = ผลลัพธ์มากอย่างสม่ำเสมอ (Consistent (Customer Loyalty) More Outcome) ความคาดหวัง (Expectation) = “ได้ผลลัพธ์มากกว่าความคาดหวังอย่างสม่ำเสมอ” ยุทธศาสตร์ OTOP

  16. Customer Focus ต่อ การเพิ่มขีดความสามารถของลูกค้า OTOP ที่มีผลต่อการซื้อ: • กำลังซื้อที่เพิ่มขึ้น • สินค้าและบริการมีให้เลือกอย่างหลากหลาย และมากมาย • ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าและบริการทั้งที่เป็นข้อมูลดิบ และประสบการณ์จากผู้ใช้ มีจำนวนข้อมูลต่าง ๆ ให้รับรู้อย่างมหาศาล • ความรู้และความสามารถที่เพิ่มขึ้นของลูกค้า ในการเลือกสินค้า การซื้อสินค้า การใช้สินค้า และการทิ้งสินค้า ยุทธศาสตร์ OTOP

  17. Customer Focus ต่อ ความต้องการสินค้า OTOP มี 2 ประเภท • ความต้องการที่มีอยู่ ณ ปัจจุบัน และแสดงออกให้เห็น (Existing Needs) • ความต้องการที่มีอยู่แต่ไม่แสดงออก หรือเชื่อว่าความต้องการที่มีอยู่นั้น ไม่สามารถสนอง ความพอใจได้ (Latent Needs) “ประเภทไหนมีมากกว่า ?” ยุทธศาสตร์ OTOP

  18. พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลูกค้า(Customer ‘s Cognitive Space) การเข้าใจผู้ซื้อ และพฤติกรรมผู้ซื้อ : ผู้ซื้อสามารถแบ่งเป็นกลุ่มตามองค์ประกอบการของความต้องการในแต่ละกลุ่มดังนี้ ยุทธศาสตร์ OTOP

  19. พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลูกค้า(ต่อ)(Customer ‘s Cognitive Space) • กลุ่มที่ชอบเปลี่ยนแปลง (Change) ในกลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยและความต้องการ (Wants) ดังนี้ • กลุ่มหักเห (Diversion): ต้องการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความเป็นอยู่ (life style) เป็นครั้งเป็นคราว • กลุ่มความรู้ (Knowledge): ต้องการเพิ่มความรู้มากขึ้น • กลุ่มสร้างสรรค์ (Creation): ต้องการทำบางอบ่างทำให้ตนเองสู่สิ่งใหม่ ๆ ยุทธศาสตร์ OTOP

  20. พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลูกค้า(ต่อ)(Customer ‘s Cognitive Space) • กลุ่มที่ชอบการมีส่วนร่วม (Participation) ในกลุ่มนี้ แบ่งเป็นกลุ่มย่อยและความต้องการ (Wants) ดังนี้ • กลุ่มครอบครัวและเพื่อน (Family and Friends): ต้องการมีเวลาให้กับครอบครัวและเพื่อนฝูง • กลุ่มพรรคพวก (Belonging): ต้องการให้เป็นเหมือนคนอื่น • กลุ่มสังคม (Socialize): ต้องการอยู่ร่วมกิจกรรมกับบุคคลหลากหลาย ยุทธศาสตร์ OTOP

  21. พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลูกค้า(ต่อ)(Customer ‘s Cognitive Space) • กลุ่มที่ชอบความอิสระ (Freedom) ในกลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยและความต้องการ (Wants) ดังนี้ • กลุ่มอัตตา (Me-ism): ต้องการทำตามใจชอบ สนใจผู้อื่น • กลุ่มปัจเจก (Individuality): ต้องการโดดเดนอย่างผู้อื่น • กลุ่มวิเวก (Voluntary Solitude): ต้องการโลกส่วนตัว แยกจากผู้อื่น ยุทธศาสตร์ OTOP

  22. พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลูกค้า(ต่อ)(Customer ‘s Cognitive Space) • กลุ่มที่ชอบความมั่นคง (Stability) ในกลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยและความต้องการ (Wants) ดังนี้ • กลุ่มผ่อนคลาย (Relaxation): ต้องการความผ่อนคลายและการพักผ่อน • กลุ่มปลอดภัย (Safety): ต้องการความปลอดภัย • กลุ่มสุขภาพ (Health): ต้องการสุขภาพดี ทั้งจิตใจและร่างกาย “ ใน 12 กลุ่มย่อย กลุ่มใดที่จะเป็นผู้ซื้อสินค้า OTOP ?” ยุทธศาสตร์ OTOP

  23. การเข้าใจผู้ซื้อและพฤติกรรมผู้ซื้อ:การเข้าใจผู้ซื้อและพฤติกรรมผู้ซื้อ: รูปแบบของพฤติกรรมผู้ซื้อ (Model of Buyer Behavior) • วิธีที่จะเข้าใจ Consumer (Buyer) Behavior ยุทธศาสตร์ OTOP

  24. ตัวกระตุ้น (STIMULUS) ขั้นตัดสินใจ ขั้นตัวแปรในการตอบสนอง RESPONSE (การตอบสนอง) Model of Buyer Behavior ยุทธศาสตร์ OTOP

  25. ผลประโยชน์ของลูกค้า(Customer Benefits) ผลประโยชน์ของลูกค้าที่พึงมีพึงได้ 4 ขั้นตอน • ขั้นตอน “การเลือกซื้อสินค้า (Selecting) ” เพื่อสนองความต้องการ • ประโยชน์จากข้อมูลตัวสินค้า • ประโยชน์จากความหลากหลาย/ความ……ของสินค้า • ประโยชน์จากความสะดวก – สบาย – การเอาใจใส่ ยุทธศาสตร์ OTOP

  26. ผลประโยชน์ของลูกค้า(Customer Benefits)ต่อ 2. ขั้นตอน “การซื้อสินค้าหรือการได้มาของสินค้า (Acquiring)” • ประโยชน์จาก ยี่ห้อสินค้า • ประโยชน์จาก ผู้ขายสินค้า • ประโยชน์จาก คุณภาพ/ราคา • ประโยชน์จากวิธีการขาย/ชำระเงิน ยุทธศาสตร์ OTOP

  27. ผลประโยชน์ของลูกค้า(Customer Benefits)ต่อ 3. ขั้นตอน “การใช้สินค้า (Using)” • ประโยชน์จาก คุณสมบัติของสินค้าในการใช้งาน (Functional Benefits) • ประโยชน์จาก สิ่งที่ก่อให้เกิดคุณค่าทางอารมณ์และจิตใจ (Emotional Benefits) ยุทธศาสตร์ OTOP

  28. ผลประโยชน์ของลูกค้า(Customer Benefits)ต่อ 4. ขั้นตอน “การทิ้งสินค้า (Disposing)” • ประโยชน์จาก การไม่เป็นพิษเป็นภัย • ประโยชน์จากการที่สามารถสละโดยง่าย • ประโยชน์จากการปลอดจากปัญหานานาประการ ยุทธศาสตร์ OTOP

  29. การบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า(Customer Relationship Management: CRM) ขั้นตอนในการทำการบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า (CRM) และสิ่งที่ต้องปฏิบัติ • แสวงหากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (Finding the Target Customers) สิ่งที่ต้องปฏิบัติ 1.1 ปรับความชัดเจนของตลาดเป้าหมาย (Defining Target Markets) 1.2 ยึดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (Acquiring Target Customers) ยุทธศาสตร์ OTOP

  30. การบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า(ต่อ)(Customer Relationship Management: CRM) • สนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (Filling Customers’ Need) สิ่งที่ต้องปฏิบัติ 2.1 แปลงคุณค่า (Value) ให้เป็นประโยชน์ (Benefits) ที่ ลูกค้าจับต้องได้ รู้สึกได้ 2.2 ปรับสินค้าให้เข้ากันได้กับการเลือกของลูกค้า ยุทธศาสตร์ OTOP

  31. การบริหารความสัมพันธ์ของลูกค้า(ต่อ)(Customer Relationship Management: CRM) 3. สร้างรูปแบบการเกี่ยวโยงกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย (Formulate the Link with Target Customers) สิ่งที่ต้องปฏิบัติ: 3.1 ออกแบบการให้ข้อมูล – รับข้อมูล – เก็บข้อมูล 3.2 สร้างประโยชน์จากข้อมูลของลูกค้า ยุทธศาสตร์ OTOP

  32. 1.3 เครือข่ายผู้ประกอบการ OTOP มองลึก เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Network) 1.3/1 แหล่งทรัพยากร (Resource Space) จาก 1.3/1 มาสร้าง 1.3/2 หรือในทางกลับกัน 1.3/2 หุ้นส่วนธุรกิจ (Business Partner) จาก 1.3/2 มาสร้าง 1.3/3 หรือในทางกลับกัน 1.3/3 การบริหารหุ้นส่วนธุรกิจ (Business Partner Management) ยุทธศาสตร์ OTOP

  33. เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Network) เครื่อข่ายเกือหนุนคือ กลุ่มคนที่ทำงานร่วมกัน มีประโยชน์ร่วมกัน(ไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์ทางตรงหรือทางอ้อม) และสามารถพึ่งพิงซึ่งกันและกัน แหล่งทรัพยากร (Resources Space) ปัจจัยหลักที่ต้องนำมาพิจารณา มีดังต่อไปนี้ • แหล่งทรัพยากรด้าน”การเงิน” (Financial Resources) ยุทธศาสตร์ OTOP

  34. เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Network)ต่อ • แหล่งทรัพยากรด้าน “ช่องทางการตลาด” (Marketing Channels Resources) ประกอบด้วย • การสื่อสาร (Communication Channels) • การกระจายสินค้า (Distribution Channels) • การขายสินค้า (Selling Channels) • แหล่งทรัพยากรด้าน”ผู้จัดส่งวัตถุดิบหรือสินค้า” (SuppliersChannels) • แหล่งทรัพยากรด้าน”การเก็บและขนส่ง” (Logistics) • แหล่งทรัพยากรด้าน “องค์ความรู้”(Knowledge) ยุทธศาสตร์ OTOP

  35. เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Network)ต่อ หุ้นส่วนทางธุรกิจ (Business Partners) สิ่งสำคัญที่ต้องทำ • ในแหล่งทรัพยากร (Resources Space) ต่างๆดังกล่าวจะต้องพยายามพัฒนาให้กลายเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ได้ โดยเฉพาะทรัพยากรที่มีความสำคัญและจะต้องมีการปฏิบัติงานร่วมกันในบ่อยครั้ง • พัฒนาความเกี่ยวข้องโยงใย (Linkage) โดย • จ้างบุคคลภายนอก (Out Sourcing) • การรวมตัวกัน (Syndicating) ยุทธศาสตร์ OTOP

  36. เครือข่ายเกื้อหนุน (Collaborative Network)ต่อ การบริหารหุ้นส่วนธุรกิจ (Business Partner Management) หลักสำคัญที่ต้องทำคือ • เสาะหาและคัดเลือกทรัพยากรต่างๆจากจำนวนมากให้เหลือจำนวนน้อยแต่มีความสำคัญ ละมีความพอดีกับธุรกิจของเรา • ดำเนินการแบบหุ้นส่วนธุรกิจ ไม่ใช่แค่คนซื้อ- คนขายเท่านั้น • พยายามสร้างคุณค่าทางธุรกิจ (Business Value) และส่งมอบซึ่งกันและกัน ยุทธศาสตร์ OTOP

  37. คุณค่า Value 2 การค้นคว้าตรวจสอบเรื่องคุณค่า (Value Exploration) 2.1 การส่งมอบคุณค่า (Value Delivery) 2.2 การค้นคว้าตรวจสอบเรื่องคุณค่า (Value Exploration) 2.3 ยุทธศาสตร์ OTOP

  38. คุณค่า (Value) คุณค่า(Value)คืออะไร? คุณค่า(Value) คือ “ความคุ้มค่า” สิ่งใดไม่คุ้มค่าสิ่งนั้นไม่มี “Value” ยุทธศาสตร์ OTOP

  39. คุณค่า (Value)ต่อ การศึกษาค้นคว้าตรวจสอบเรื่อง Value (Value Exploration) การศึกษาค้นคว้าตรวจสอบเรื่อง Value ต้องทำพร้อมๆกับเรื่องต่อไปนี้ • Customer Value คือคุณค่าที่มีต่อลูกค้า ตลอดจนมีผลประโยชน์ต่อลูกค้าและทำให้ลูกค้าพึงพอใจ • Company Competency คือคุณค่าของความสามารถของผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจ • Collaborative Network Value คือ คุณค่าที่บุคคล ซึ่งร่วมอยู่ในเครือข่ายพึงจะมีได้ และสามารถส่งมอบกันได้ ยุทธศาสตร์ OTOP

  40. คุณค่า (Value)ต่อ การสร้างคุณค่าให้เกิดขึ้น (Value Creation) การสร้างคุณค่าให้เกิดขึ้นจะต้องสร้างให้ได้ 3 เรื่อง คือ • การสร้างคุณค่าให้ลูกค้า คือต้องทำใหห้ลูกค้าได้รับผลประโยชน์ (Customer Benefits) • การสร้างคุณค่าเพื่อให้เกิดประโยชน์ในขอบข่ายธุรกิจ (Business Domain Benefits) • การสร้างคุณค่าเพื่อให้เกิดประโยชน์ในหุ้นส่วนธุรกิจ (Business Partner Benefits) “Value Creation คือ การเปลี่ยน Value ให้เป็น Benefits” ยุทธศาสตร์ OTOP

  41. คุณค่า (Value) ต่อ การส่งมอบคุณค่า (Value Delivery) การส่งมอบคุณค่าคือ การนำเอาผลประโยชน์ (Benefits) ที่เกิดจากการสร้างคุณค่า (Value Creation) ส่งมอบให้เกิดความพึงพอใจกับเรื่องต่างๆ คือ • ลูกค้าโดยการทำ CRM (Customer Relation Management) • บุคคลภายในบริษัท โดยการบริหารให้มีคุณค่าร่วม (Share Value) • เครือข่ายที่ร่วมเป็นหุ้นส่วนธุรกิจ โดยการบริหารให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน ยุทธศาสตร์ OTOP

  42. 1.2 1 1.3 ผู้ประกอบการ OTOP ลูกค้า OTOP เครือข่ายผู้ประกอบการ OTOP 2 เครือข่ายเกื้อหนุน(Collaborative Network) ความสามารถหลัก(Core Competency) คุณค่าValue Customer Focus การศึกษา วิเคราะห์ความสามารถ (Competency Space) ค้นคว้าตรวจสอบValue expectation แหล่งทรัพยากร (Resource Space) พัฒนาความรู้และความเข้าใจ(Cognitive Space) โครงสร้างธุรกิจ สินค้า ขอบเขตธุรกิจ Business Domain การส่งมอบคุณค่าValue Creation หุ้นส่วนธุรกิจ Business Partners ผลประโยชน์ลูกค้า (Customer Benefits) กิจกรรมการตลาด ระบบการบริหาร บริหารความสัมพันธ์ลูกค้า(Customer Relationship Management) การบริหารทรัพยากรภายใน(Internal Resource Management) การบริหารหุ้นส่วนธุรกิจ(Business Partner Management) การส่งมอบคุณค่าValue Delivery ยุทธศาสตร์ OTOP

  43. ROAD MAPสำหรับExport สินค้า OTOP ยุทธศาสตร์ OTOP

  44. อะไรคือสินค้า OTOP? สินค้า OTOP คือ : 1. อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นเทคโนโลยีในการผลิต 2. มีอัตตลักษณ์ของตัวสินค้า 3. ปริมาณการผลิตน้อย คุณภาพไม่คงที่ ไม่ได้มาตรฐานสากล (หรือมาตรฐานนิยม) อาศัยแรงงานมากกว่าเครื่องจักร มีข้อจำกัดในการพัฒนา 4. เป็นสินค้าที่อยู่ใน Segment ของ Micro Marketing ในระดับ Niche หรือ Micro Niche 5. เป็นสินค้าที่ (ส่วนใหญ่) ให้ Custom benefits ด้าน Emotional มากกว่า Functional และเป็น Impulse Goods (ไม่ถูกกระตุ้นก็ไม่ซื้อ) 6. การแข่งขัน : เป็นการแข่งขันกับสินค้าในอุตสาหกรรมเดียวกันและของที่ทดแทน (Form Competition) ยุทธศาสตร์ OTOP

  45. ผู้ประกอบการสินค้า OTOP เป็นอย่างไร? • กลุ่มที่อยู่ใน ” The Product Concept” ที่เรียกว่า “Product Oriented” คือจะหลงกับสินค้าของตัวเอง ไม่ตระหนักกับสิ่งที่ตลาดต้องการ ไม่สนใจการแข่งขันและคู่แข่ง สนใจแต่การสร้างสรรสินค้าและคุณภาพในมาตรฐานที่ตนเองเป็นผู้กำหนดขึ้น • กลุ่มที่อยู่ใน “The Selling Concept” คือต้องการขายสินค้า(ที่ตัวเองมี)เพียงอย่างเดียวไม่สนใจว่าผู้ซื้อต้องการอะไร และจะได้ประโยชน์จากสินค้าแค่ไหน หลังขายแล้วไม่สนว่าผู้ซื้อจะพอใจหรือไม่ • ส่วนใหญ่ไม่มีความพร้อม – ความรู้ – ทักษะในการทำตลาดและมีข้อจำกัดมากในการรับรู้วิทยาการระดับสากล • อยู่ในกลุ่มผู้ประกอบการที่เล็กกว่า Small Enterprise คือเป็น Micro Enterprise (ถ้าต้องการแยกแยะให้ละเอียด) • ถูกจำกัดเรื่องทรัพยากร ( Resources )ต่างๆ ยุทธศาสตร์ OTOP

  46. กลยุทธการแข่งขันสำหรับสินค้า OTOP • ใช้ Market Niche Strategies : “แทนที่จะเป็น Market follower ในตลาดใหญ่ ขอเป็น Market Leader ในตลาดเล็ก ไม่ว่าจะเล็กแค่ไหนก็จะดีกว่า” ยุทธศาสตร์ OTOP

  47. ยุทธวิธี • หาตลาดส่วนทื่ผู้ทำตลาดไม่สนใจหรือการแข่งขันน้อย • พัฒนาสินค้าที่มีคุณสมบัติ – คุณลักษณะเฉพาะ หรือที่มีความชำนาญพิเศษ • พัฒนาการบริการเฉพาะทาง • พัฒนาช่องการจำหน่าย หรือวิธีจำหน่ายเฉพาะทาง • พัฒนากลุ่มลูกค้าเฉพาะทาง ยุทธศาสตร์ OTOP

  48. การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการ OTOP สู่การเป็นผู้ส่งออก การเป็น “ผู้ส่งออกโดยตนเอง (Direct Exporter) (ในกลุ่มนี้จะมีผู้ประกอบการ OTOP ที่จะมีความพร้อมถึงขั้นเป็นมืออาชีพได้จะมีน้อย ถึงน้อยมาก) ขั้นตอนต่างๆที่ผู้ส่งออกโดยตนเองต้องรู้และต้องปฎิบัติมีดังนี้ :- • จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (ประเภทไหนก็ได้) • ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกทั่วไปที่กรมศุลกากร(ขอมีบัตรประจำตัวผู้ส่งออก) • ทำความเข้าใจกับระเบียบการส่งออกสินค้าทั้ง 3 กลุ่ม :- - สินค้าส่งออกเสรี – สินค้าควบคุม – สินค้ามาตรฐาน • เข้าศึกษา–หาประสบการณ์ตรงกับขบวนการ “การตลาดส่งออก” (Export Marketing) ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นความรู้ด้านหลักการ หรือด้านเทคนิค • ความรู้เรื่องการจัดองค์ การบริหารธุรกิจส่งออก (Export Organization Management) ยุทธศาสตร์ OTOP

  49. ความรู้และการปฏิบัติในการหาข้อมูลข่าวสารเพื่อประโยชน์ในการส่งออก: -นโยบายของรัฐ – ตัวสินค้า(ทั้งส่งเสริมและกีดกัน) - ตลาด(ประเทศ – สินค้า – ลูกค้า) – ระบบของธนาคารเพื่อการส่งออก - Logistic– Shipping – เอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวกับการส่งออก • บรรจุภัณฑ์ (Packing Packaging) – ระบบการบรรจุและขนส่งเพื่อการส่งออก (Loading and Transportation’s mode) • การเข้าตลาด – หาลูกค้า – ติดตาม – บริการ • ยุทธศาสตร์ – ยุทธวิธีในการแข่งขันและบริหารความเสี่ยง • การพัฒนาบุคคลากรสำหรับการส่งออก ยุทธศาสตร์ OTOP

  50. สิ่งสำคัญที่ผู้ส่งออกต้องรู้ในการทำการส่งออกสิ่งสำคัญที่ผู้ส่งออกต้องรู้ในการทำการส่งออก หมวด 1 : เลือกสินค้าที่มีความถนัด – ศึกษาทั้งด้านขบวนการผลิตจนถึงตัวสินค้าตลอดจนจุด ที่ได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantages – Selling points) หมวด 2 : สิทธิพิเศษอันพึงได้กับตัวสินค้านั้นที่ทางรัฐบาลได้ดำเนินการเจรจาตกลงกับต่าง ประเทศ (อ้างอิงตามพิกัดอัตราศุลกากร –Harmonize Code) หมวด 3 : มาตรฐานต่างๆที่ต่างประเทศกำหนดไว้ที่จะอนุญาตให้สินค้านั้นนำเข้าไปขายได้ หมวด 4 : มาตรการหรือระเบียบของภาครัฐที่มีต่อการส่งออกสินค้านั้น หมวด 5 : การบริหารและจัดการเกี่ยวกับการพัฒนาและปรับปรุงตัวสินค้าและบรรจุภัณฑ์ หมวด 6 : การหาข้อมูลตลาด หมวด 7 : การเลือกตลาด ยุทธศาสตร์ OTOP

More Related