1 / 54

ขั้นตอนที่ 1.

การจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคา ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ.2549. ขั้นตอนที่ 1. 1. ตรวจสอบแหล่งเงิน 2. รายการ 3. รายละเอียด. 1. ตรวจสอบแหล่งเงิน. - เงินงบประมาณ - เงินนอกงบประมาณ - อื่นๆ. 2. รายการ. - รายการที่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณแล้ว

fawn
Télécharger la présentation

ขั้นตอนที่ 1.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาการจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคา ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ.2549 ขั้นตอนที่ 1. 1. ตรวจสอบแหล่งเงิน 2. รายการ 3. รายละเอียด

  2. 1. ตรวจสอบแหล่งเงิน - เงินงบประมาณ - เงินนอกงบประมาณ - อื่นๆ

  3. 2. รายการ - รายการที่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณแล้ว - รายการที่ได้รับการพิจารณาจากเงินนอกงบประมาณ - อื่นๆ

  4. 3. รายละเอียด - ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ มติ ครม. - คำสั่งมอบอำนาจในการใช้จ่ายเงิน / ก่อหนี้ผูกพัน เช่น เงินงบประมาณ เงินบำรุงฯ

  5. ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินงาน - ต้องมีแบบรูปรายการรายละเอียดดังนี้ 1. แบบแปลนและเอกสารประกอบแบบ 2. งวดงาน - งวดเงิน 3. บัญชีแสดงปริมาณงานและราคา (BOQ) 4. ราคามาตรฐาน / ราคากลางของทางราชการ

  6. การจัดทำร่างขอบเขตงาน (TOR) - แต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR / ร่างเอกสารประกวดราคา โดยหัวหน้าส่วนราชการ / ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ - วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท / งานก่อสร้างในโครงการมีแบบมาตรฐานไว้แล้ว ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ จะแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR / ร่างเอกสารประกวดราคาหรือไม่ก็ได้ ถือปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี แต่ต้องนำร่าง TOR / ร่างเอกสารประกวดราคาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง เพื่อให้สาธารณชนเสนอแนะ / วิจารณ์

  7. ร่างขอบเขตงาน อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ - ความเป็นมา - วัตถุประสงค์ - คุณสมบัติผู้เสนอราคา - แบบรูปรายการ / คุณลักษณะเฉพาะ (Spect) - ระยะเวลาดำเนินการ - ระยะเวลาส่งมอบของ / งาน - วงเงินในการจัดหาให้ใช้ราคากลางของจังหวัดเป็นวงเงินเริ่มต้นในการเสนอราคา

  8. ร่างเอกสารประกวดราคา - จัดทำตามแบบที่ กวพ.อ. กำหนด และกระทรวงสาธารณสุขได้แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมตามหนังสือกรมบัญชีกลาง - หนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อ / จ้าง เรื่องการเพิ่มความคล่องตัวและแนวทางในการปฏิบัติตามระเบียบฯ พ.ศ.2549 หนังสือที่ กค 0408.3/ว 302 ลว. 21 ก.ค.2549

  9. - เสนอหัวหน้าส่วนราชการอนุมัติร่าง TOR / ร่างเอกสารประกวดราคา - เผยแพร่ลงในเว็บไซต์กรมบัญชีกลางและของหน่วยงาน โดยนำสาระสำคัญที่สามารถเผยแพร่ได้ ประกาศติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน

  10. - รับฟังข้อเสนอแนะ / คำวิจารณ์ มีหรือไม่ - ไม่มีข้อเสนอแนะ / คำวิจารณ์ ไม่ต้องลงเว็บไซต์อีก - มีข้อเสนอแนะ / คำวิจารณ์ คณะกรรมการฯ พิจารณาว่า ควรปรับปรุงหรือไม่

  11. - ควรปรับปรุงให้ดำเนินการปรับปรุงให้แล้วเสร็จ / เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อให้ความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง - ไม่ควรปรับปรุงใหม่ คณะกรรมการฯ จะต้องนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการอีกเช่นเดียวกัน แล้วประกาศลงในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง / ของหน่วยงานติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน

  12. การจัดทำรายงานขอจ้าง (ตามข้อ 27) - แต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาจ้าง - แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน / ผู้ชี้สถานที่ (ถ้ามี) - คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง - เป็นอำนาจของอธิบดีกรมบัญชีกลาง ซึ่งมอบอำนาจให้หัวหน้าส่วนราชการ ที่เป็นหน่วยงานผู้จัดหาพัสดุ

  13. คณะกรรมการประกวดราคา ประกอบด้วย 1. ประธานกรรมการ 1 คน จากหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ 2. กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 3 คน / ไม่น้อยกว่า 5 คน ในจำนวนนี้ให้แต่งตั้งจากบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่ง / เงินเดือนประจำ อย่างน้อย 1 คน 3. ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ / ผู้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเป็นกรรมการและเลขานุการ 4. ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ในหน่วยงานนั้นเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

  14. การจัดหาพัสดุ ในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท 1. ให้มีคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 7 คน จะมีกรรมการบุคคลภายนอกหรือไม่ก็ได้ 2. ให้บุคลากรของหน่วยงาน(หัวหน้าพัสดุ) ที่จะ จัดหาเป็นกรรมการและเลขานุการ และจะ แต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการด้วยหรือไม่ก็ได้

  15. การจัดหาพัสดุที่มีวงเงินเกิน 10 ล้านบาทขึ้นไป 1. ให้มีคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน และมีกรรมการบุคคลภายใน 1 คน 2. ให้หัวหน้าพัสดุ / ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็น หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเป็นกรรมการและ เลขานุการ และจะแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการ ด้วยหรือไม่ก็ได้

  16. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0408.3/ว 59 ลว. 17 ก.พ.2549 กำหนดแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบฯ คุณสมบัติของคณะกรรมการประกวดราคา - ประธานกรรมการจากหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ - บุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่ง / เงินเดือนประจำ

  17. จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้ 1. เป็นผู้บรรลุนิติภาวะและมีสัญชาติไทย 2. ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียหรือผลประโยชน์ใดๆ / ผลประโยชน์ที่ได้เสียที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่ประสงค์จะเสนอราคาต่อหน่วยงานที่จัดหาพัสดุไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม

  18. 3. ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติด 4. ไม่เป็นผู้วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ 5. ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของภาคเอกชน 6. ไม่เป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ ตามระเบียบสำนักนายกฯ พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติมข้อ 29

  19. การเผยแพร่ประกาศ - หัวหน้าส่วนราชการลงนามในประกาศเชิญชวนแล้ว - หน้าหน้าฝ่ายพัสดุ ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการประกวดราคา นำประกาศไปเผยแพร่ลงในเว็บไซต์ของหน่วยงานและของกรมบัญชีกลาง โดยให้ปิดประกาศอย่างเปิดเผย ณ ที่ทำการของหน่วยงาน ไม่น้อยกว่า 3 วัน

  20. การแจกจ่าย / จำหน่ายเอกสารประกวดราคา - ตั้งแต่วันประกาศ - ไม่น้อยกว่า 3 วัน - นับตั้งแต่วันประกาศในเว็บไซต์ของกรม บัญชีกลาง / หน่วยงาน

  21. การรับซองข้อเสนอทางเทคนิคการรับซองข้อเสนอทางเทคนิค - คณะกรรมการประกวดราคาซื้อ รับซอง ข้อเสนอทางเทคนิค ณ ที่ทำการของ หน่วยงาน

  22. การกำหนดวันรับซองข้อเสนอทางเทคนิคการกำหนดวันรับซองข้อเสนอทางเทคนิค - ต้องให้เวลากับผู้ที่ประสงค์จะเสนอราคาในการจัดทำเอกสารข้อเสนอทางเทคนิค - ไม่น้อยกว่า 3 วัน แต่ไม่เกิน 30 วันนับแต่วันสุดท้ายของการแจกจ่ายหรือจำหน่ายเอกสาร - การกำหนดวันรับซองข้อเสนอทางเทคนิคให้กำหนดเพียง 1 วัน

  23. การดำเนินการรับซองข้อเสนอทางเทคนิคการดำเนินการรับซองข้อเสนอทางเทคนิค - ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - ข้อ 49 (1) (2) (3) และ (4)

  24. การพิจารณาคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเสนอราคาการพิจารณาคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเสนอราคา - ผู้เสนอราคามีคุณสมบัติถูกต้องครบถ้วน ตามประกาศฯ เช่น เอกสาร ข้อเสนอทางด้านเทคนิค และหลักประกันซอง - ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างผู้เสนอราคา - ไม่มีการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม - เอกสารทางด้านนิติกรรมถูกต้อง

  25. การแจ้งผลการคัดเลือก - คณะกรรมการแจ้งผลการคัดเลือกเบื้องต้นให้ผู้เสนอราคาทุกรายการทราบเป็นการเฉพาะ (แบบ บก.004-1) โดยไม่เปิดเผยรายชื่อต่อสาธารณชน - ไม่มีการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา - ผู้เสนอราคาที่ไม่ผ่านการคัดเลือก ให้แนบแบบอุทธรณ์ผลการคัดเลือก (แบบ บก 004-2)

  26. การพิจารณาการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกการพิจารณาการอุทธรณ์ผลการคัดเลือก - ผู้เสนอราคาที่ไม่ผ่านการคัดเลือกเบื้องต้น มีสิทธิอุทธรณ์ต่อหัวหน้าส่วนราชการ ภายใน 3 วันนับแต่วันได้รับแจ้งแบบ บก.004-2 - หัวหน้าส่วนราชการ จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 7 วัน ในระหว่างการพิจารณาจะดำเนินการในขั้นตอนต่อไปมิได้ - พิจารณาไม่แล้วเสร็จภายใน 7 วัน ถือว่าอุทธรณ์ของผู้เสนอราคานั้นฟังขึ้น สามารถที่จะเข้ามาเสนอราคาได้

  27. การแจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคาการแจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคา - แจ้งวัน เวลา สถานที่ให้ผู้มีสิทธิเสนอราคา ตามแบบ บก.005 ลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ และแบบแจ้งชื่อผู้แทน ผู้มีสิทธิเสนอราคา ตามแบบ บก.006 - วัน เวลาที่กำหนด จะต้องเป็นวันทำการและเวลาราชการ

  28. การแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคาการแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา ให้กับผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็คทรอนิกส์ - คณะกรรมการส่งมอบข้อมูลเบื้องต้น ตามแบบ แจ้งข้อมูลให้ผู้ให้บริการตลาดกลางฯ ตามแบบ บก.021 ลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ - ก่อนวันที่กำหนดให้เสนอราคา 2 วันทำการ

  29. วันเสนอราคา (เคาะราคา) - คณะกรรมการไม่น้อยกว่า ½ ต้องมาอยู่ในสถานที่ของตลาดกลาง ณ สถานที่ที่เสนอราคา - วันเสนอราคา หากประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการฯ คัดเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งทำหน้าที่ประธานแทน - ผู้ที่ทำหน้าที่แทนประธาน จะต้องรายงานผลการดำเนินงานทั้งหมด ให้ประธานคนเดิมทราบ - ให้หน่วยงานที่จัดหา จัดทำรายงานให้ผู้มีอำนาจแต่งตั้งกรรมการประกวดราคาทราบ

  30. การลงทะเบียน / เอกสาร - กำหนดวัน เวลา สถานที่ การลงทะเบียน - ผู้มีสิทธิเสนอราคายื่นแบบ บก.006 - สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล - หนังสือมอบอำนาจ / ปิดอากรแสตมป์ - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบ อำนาจและผู้รับมอบอำนาจ

  31. - สิ้นสุดระยะเวลาที่กำหนดในการลงทะเบียน หากเอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องและไม่สามารถแก้ไขได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด ให้คณะกรรมการ ประกาศรายชื่อเป็นผู้หมดสิทธิเสนอราคา ตามแบบ บก.007 และผู้ให้บริการตลาดกลางปิดประกาศผู้หมดสิทธิรายนั้น - หลักฐานถูกต้อง ครบถ้วน ประธานกรรมการมอบ Username / Password ให้กับผู้มีสิทธิเสนอราคา

  32. - เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้ควบคุมประจำห้องผู้มีสิทธิเสนอราคา ณ สถานที่เสนอราคา นำผู้มีสิทธิเสนอราคาเข้าประจำห้องเสนอราคาในแต่ละห้องที่จัดไว้ - คณะกรรมการ / ผู้มีสิทธิเสนอราคา / ผู้ดูแลผู้มีสิทธิเสนอราคา ห้ามใช้เครื่องมือสื่อสารทุกชนิดในระหว่างการทดสอบระบบ - เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการตลาดกลาง จะเก็บรักษาเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดไว้ในที่ปลอดภัยจนกว่าจะสิ้นสุดระยะเวลาของการเสนอราคา

  33. การทดสอบระบบ - ต้องสังเกต การทดสอบระบบของผู้มีสิทธิเสนอราคา - มีปัญหาหรือไม่ หากมีให้รีบรายงานคณะกรรมการ เช่น เครื่อง Com ไม่ทำงาน ไม่สามารถเข้าระบบได้ - หากผู้มีสิทธิเสนอราคามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น มีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ให้รีบรายงานประธานคณะกรรมการทันที

  34. การส่งผู้แทนมาดำเนินการเสนอราคาการส่งผู้แทนมาดำเนินการเสนอราคา - ตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ.2549 ให้ส่งผู้แทนไม่เกิน รายละ 3 คน ก่อนเริ่มเวลาเสนอราคา - หากผู้มีสิทธิเสนอราคารายใดไม่ส่งผู้แทนมาตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด ให้ประธานคณะกรรมการประกวดราคา ประกาศเป็นผู้หมดสิทธิเสนอราคา ตามแบบ บก.007 ปิดไว้ ณ สถานที่ที่เสนอราคา และเมื่อระยะเวลาสิ้นสุดลงให้ปลดประกาศออก และส่งสำเนาประกาศให้ผู้หมดสิทธิเสนอราคานั้นทราบต่อไป

  35. กรณีมีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียวกรณีมีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว - ผู้มีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียวให้หน่วยงานจัดหาพัสดุ ยกเลิกการดำเนินการทั้งหมด แล้วดำเนินการใหม่ / ขอกวพ.อ. ดำเนินการด้วยวิธีอื่นได้ ตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ.2549 ข้อ 9(4) - วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท มีมาตรการผ่อนผันตามมติ ครม. ให้หน่วยงานนั้นดำเนินการจัดหาด้วยวิธีอื่น ตามระเบียบพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้โดยไม่ต้องขออนุมัติ กวพ.อ.

  36. การทดสอบระบบ - การทดสอบระบบไม่น้อยกว่า 15 นาที - การกำหนดระยะเวลาเสนอราคา 30-60 นาที ทั้งนี้จะต้องสอดคล้องกับใบแจ้งนัดหมาย ตามแบบ บก.006 - การดูแลการเสนอราคาทุกขั้นตอนให้อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สุจริต ยุติธรรม

  37. - หากมีเหตุที่เกิดความไม่เรียบร้อยไม่เป็นธรรม ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประกวดราคา ที่จะพิจารณายกเลิกหรือเลื่อนการเสนอราคาออกไป แล้วรายงานหัวหน้าส่วนราชการทราบ

  38. การพิจารณาผลการเสนอราคาการพิจารณาผลการเสนอราคา - คณะกรรมการฯ รายงานผลต่อหัวหน้าส่วนราชการในวันทำการถัดไปนับจากวันสิ้นสุดเสนอราคา - หากไม่สามารถดำเนินการได้ทันภายในวันทำการถัดไป ให้คณะกรรมการฯ รวบรวมรายละเอียดและพิจารณาจัดทำรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอีกครั้งภายใน 5 วันทำการถัดไป นับจากวันที่ได้รับรายงานครั้งแรก

  39. วงเงินไม่เกิน 50 ล้านบาท - หัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบกับรายงานผลการเสนอราคา ตามมติคณะกรรมการฯ ให้คณะกรรมการฯ แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย ตามแบบ บก.010-1 และ แบบ บก.010-3 - หัวหน้าส่วนราชการ ไม่เห็นชอบกับมติคณะกรรมการให้แจ้งผลให้คณะกรรมการทราบเพื่อชี้แจงภายใน 3 วัน - รับคำชี้แจงจากคณะกรรมการ แล้วเห็นชอบให้คณะกรรมการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย ตามแบบ บก.010-1 และ แบบ บก.010-3 และรายงานให้ กวพ.อ. ทราบ ตามแบบ บก.010-2

  40. วงเงินเกิน 50 ล้านบาท - หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบกับรายงานผลการเสนอราคา ตามมติคณะกรรมการ ก็ให้ขอความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจสั่งซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 65 ให้คณะกรรมการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย ตามแบบ บก.010-1 และแบบ บก.010-3

  41. - หากหัวหน้าส่วนราชการ ไม่เห็นชอบกับมติคณะกรรมการ ภายใน 3 วัน - ให้หัวหน้าส่วนราชการยกเลิกการประกวดราคา - แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้มีสิทธิเสนอทุกรายทราบ ตามแบบ บก.010-1 และ แบบ บก.010-3 - ให้รายงานให้ กวพ.อ. ทราบ ตามแบบ บก.010-2

  42. ในทุกกรณีคณะกรรมการประกวดราคาหัวหน้าฝ่ายพัสดุในฐานะเลขานุการ จะต้องนำผลการพิจารณาของผู้มีอำนาจสั่งซื้อเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบประกาศลงในเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานไม่น้อยกว่า 3 วันนับแต่วันแจ้งผลการเสนอราคา ตามแบบ บก.010-1 ให้ผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุกราย

  43. การอุทธรณ์ หากไม่มีการอุทธรณ์ ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายก ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และแก้ไขเพิ่มเติมต่อไป หากมีการอุทธรณ์ เช่น ไม่เห็นด้วยกับการเสนอราคา หรือมีเหตุผลอื่นใดอันควรร้องเรียนเพื่อขอความเป็นธรรม - ให้อุทธรณ์ / ร้องเรียนต่อ กวพ.อ. ภายใน 3 วัน

  44. นับแต่วันได้รับแจ้ง โดยอุทธรณ์ตามแบบ บก.010-3 - กวพ.อ. ได้รับอุทธรณ์ / ร้องเรียนให้แจ้งหน่วยงานเพื่อระงับการดำเนินการในขั้นตอนต่อไป ตามแบบ บก.010-4 - กวพ.อ. ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน

  45. - คำอุทธรณ์ฟังไม่ขึ้น ให้แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ร้องเรียนทราบ และแจ้งหน่วยงานดำเนินการต่อไป ตามแบบ บก.010-5

  46. - คำอุทธรณ์ฟังขึ้น ให้แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ร้องเรียนทราบ และแจ้งหน่วยงานดำเนินการเสนอราคาใหม่ โดยเริ่มจากขั้นตอนใดก็ได้แล้วแต่จะสั่งการ ตามแบบ บก.010-5

  47. - หน่วยงานรอรับแจ้งผลการอุทธรณ์จาก กวพ.อ. - จะให้ระงับการดำเนินการในขั้นตอนต่อไปหรือไม่ - หรือดำเนินการในขั้นตอนต่อไป - หรือดำเนินการเสนอราคาใหม่ - ขั้นตอนในการดำเนินการ กวพ.อ. จะเป็นผู้สั่งการแล้วแต่กรณี

  48. หลักประกันซอง - กำหนดมูลค่าเป็นจำนวนเต็มในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้นแล้วแต่กรณี - เว้นแต่ การจัดหาพัสดุ ที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่าสำคัญเป็นพิเศษ จะกำหนดให้อัตราที่สูงกว่าร้อยละ 5 ก็ได้ แต่ไม่เกินร้อยละ 10

  49. การกำหนดระยะเวลาค้ำประกันการกำหนดระยะเวลาค้ำประกัน - ระยะเวลาค้ำประกันในหนังสือค้ำประกัน ให้นับตั้งแต่วันยื่นซองข้อเสนอทางเทคนิคครอบคลุมไปถึงวันสิ้นสุดการยื่นราคา

  50. การคืนหลักประกันซอง - คืนให้ภายใน 15 วันนับถัดจากวันที่ได้พิจารณาเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว - เว้นแต่ ผู้เสนอราคารายที่คัดเลือกไว้ ซึ่งเสนอราคาต่ำสุด จะคืนให้ต่อเมื่อได้ทำสัญญา / ข้อตกลง / ผู้เสนอราคาได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว

More Related