1 / 31

การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ

การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ. โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย. คำถาม?. ความหมาย. ผู้บังคับบัญชา : ผู้ตกลงใจ ผู้ตัดสินใจ ฝ่ายอำนวยการ : ผู้ให้ข้อมูล ผู้เสนอแนะ. ประเภทของฝ่ายอำนวยการ. ฝอ.ประจำตัว

feivel
Télécharger la présentation

การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการการเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ โดย พลตรี เอนก แสงสุกผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย

  2. คำถาม?

  3. ความหมาย • ผู้บังคับบัญชา : ผู้ตกลงใจ ผู้ตัดสินใจ • ฝ่ายอำนวยการ : ผู้ให้ข้อมูล ผู้เสนอแนะ

  4. ประเภทของฝ่ายอำนวยการประเภทของฝ่ายอำนวยการ • ฝอ.ประจำตัว • ฝ่ายกิจการพิเศษ • ฝอ.ประสานงาน

  5. ผบ. และ ฝอ. • หน่วย ผบ. ฝอ.บก.ทท. ผบ.ทสส.จก.สธร.ฯนขต.บก.ทท. เจ้ากรม ผอ.สำนัก สำนัก ผอ.สำนัก ผอ.กองกอง ผอ.กอง หน./ทุกคน

  6. หน้าที่ของ ฝอ. • คิด เขียน พูดจะทำได้ดีเพียงใด ขึ้นอยู่กับ • อ่าน ฟัง สรุป

  7. ข้อพิจารณาของ ฝอ. • คือ ข้อมูล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ของ ฝอ.ต่อเรื่องนั้น ๆ

  8. รูปแบบข้อพิจารณาของ ฝอ. • แบบ 6 หัวข้อ • แบบ 4 หัวข้อ และ 4 ข้อ • แบบ 3 ข้อ • แบบ 2 ข้อ

  9. แบบ 6 หัวข้อ 1. ปัญหา … 2. สมมุติฐาน … 3. ข้อเท็จจริง … 4. ข้อพิจารณา … 5. ข้อสรุป … 6. ข้อเสนอ ...

  10. แบบ 4 หัวข้อ และ 4 ข้อ 1. ..… (ปัญหา) ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ ….. 1. ปัญหา ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ …..

  11. 1. ..…. 2. …… 3. …… 4. ข้อเสนอ

  12. แบบ 3 ข้อ 1. … (ปัญหา หรือปัญหา + ข้อเท็จจริง) 2. … (ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา หรือ ข้อพิจารณา) ….. 3. ข้อเสนอ …..

  13. แบบ 2 ข้อ 1. ….. (ปัญหา + ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา) ….. 2. ข้อเสนอ …..

  14. ความหมาย • ปัญหา : เรื่องที่จะขออนุมัติ • ข้อเท็จจริง : ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้ • ข้อพิจารณา : ความเห็นต่อเรื่องนี้ • ข้อเสนอ : ให้ใคร ทำอะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร

  15. สิ่งที่ต้องยึดถือ • หลักการ • แบบธรรมเนียมของหน่วย • นโยบายของ ผบ.

  16. เทคนิคในการร่างหนังสือเทคนิคในการร่างหนังสือ • ใครลงนาม ร่างกี่ฉบับ • คิดข้อเสนอก่อน • ผอ.กอง จะเสนอ เจ้ากรม อย่างไร • เจ้ากรม จะเสนอ ผบ.ทสส. อย่างไร • สวมวิญญาณเป็นผู้ลงนาม

  17. แยกข้อเท็จจริง กับ ข้อพิจารณา • อาจใช้กระดาษโน้ตช่วย • คิดข้อ 1 ในใจ • ฉบับ เจ้ากรม เรียน ผบ.ทสส.สำคัญกว่า ฉบับ ผอ.กอง เรียนเจ้ากรม

  18. พิมพ์ครั้งที่ 1 ในกระดาษเสีย • ปรับแก้ • พิมพ์จริง

  19. ขั้นตอนการร่างหนังสือขั้นตอนการร่างหนังสือ • อ่าน สรุป คิดโครงร่าง วางแผนการเขียน • ศึกษาเอกสาร ประสานงาน • ลงมือร่างหนังสือ และหนังสือประกอบ

  20. สรุปเทคนิคการร่างหนังสือสรุปเทคนิคการร่างหนังสือ • สวมวิญญาณเป็นผู้ลงนาม • คิดและเขียนแบบผู้ลงนาม • รู้นิสัยของผู้ลงนามยิ่งดี • รู้ความสัมพันธ์กับผู้รับยิ่งดี • เขียนให้เป็นสำนวนของผู้ใหญ่

  21. ใช้เนื้อหาที่ต่างกันใน 2 ฉบับ • เรื่องที่ ผบ.ชั้นสูง ไม่จำเป็นต้องทราบ สรุปสั้นๆ • อ่านแล้วถามตัวเองว่า 6w? • คิดข้อเสนอก่อนทั้ง 2 ฉบับ • แล้วค่อยคิดต่อว่าจะเขียนข้อใดอย่างไร ใช้รูปแบบใด

  22. ข้อ 1 ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร เพื่ออะไร • ข้อ 2 รวบรวมความจริงเรื่องนั้น • อาจใช้คำอื่น เช่น 2.เรื่องตามข้อ 1 สรุปได้ดังนี้2.กองฯ ขอเรียนดังนี้2.เรื่องเดิม2.ความเป็นมา2.กองฯ พิจารณาและดำเนินการดังนี้

  23. ข้อ 3 ข้อพิจารณา เขียนให้เป็นความเห็นของผู้ลงนาม ไม่ใช่ของผู้ร่าง • ไม่ควรใช้คำ เห็นควร ในข้อพิจารณา ควรใช้ สมควร • เนื้อหาของข้อพิจารณา : ประโยชน์ ผลดี ผลเสีย งบประมาณ อำนาจตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง

  24. ข้อ 4 ข้อเสนอ ควรเขียนให้สมบูรณ์ในตัวเอง ไม่ย่อสั้นไป แต่ไม่ต้องลอกทั้งหมด อาจใช้ “เห็นควร....ตามข้อ 1” • ไม่ควรเขียนข้อเสนอให้อนุมัติในข้อก่อน • เรื่องเพื่อทราบแต่มีขออนุมัติ จะกลายเป็นเรื่องขออนุมัติทันที

  25. ข้อควรระวัง • ถ้ามี “2.ข้อเท็จจริง”ต้องมี “3.ข้อพิจารณา” เสมอ • เรื่องขออนุมัติ ต้องมี “ข้อเสนอ” เสมอ • ไม่ควรเขียนข้อเสนอไว้ในข้อพิจารณา แล้วเสนอให้อนุมัติในข้อพิจารณา

  26. สรุปการร่างหนังสือควรยึดถือสรุปการร่างหนังสือควรยึดถือ • หลักการ • แบบธรรมเนียมของหน่วย • นโยบายของ ผบ.

  27. ข้อคิดในการทำงานให้มีความสุขข้อคิดในการทำงานให้มีความสุข • อย่าดื้ออย่ารั้น • ชนะแล้วได้อะไร • รู้จักปล่อยวาง

  28. จบแล้วครับ เชิญทานข้าว

More Related