1 / 27

อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์

อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์. นายแพทย์สุเมธ องค์ วรรณ ดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ และจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ ๒๕๒๘ - ๒๕๗๓. Integration, decentralization, and sustainability.

fifi
Télécharger la présentation

อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์ นายแพทย์สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ และจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ๒๕๒๘ - ๒๕๗๓ Integration, decentralization, and sustainability Health approach Socio-economic and development approach Getting to Zero ผู้ติดเชื้อที่ยังมีชีวิต 464,086 297,879 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 8,719 6,139

  3. ที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อ้างใน การสาธารณสุขไทย 2551 - 2552 

  4. ปี พ.ศ.

  5. Coverage of ART by Estimated Number of ART NeedsART Initiation Criteria as CD4 ≤ 200 cells/mm3 CD4 ≤ 350 cells/mm3 ARV-others CD4 ≤ 200 cells/mm3 UC  70% ARV-UC Coverage of ART Needs by CD4 ≤ 350 cells/mm3 in 2010, 2011 and 2012 were 59.4%, 64.9% and 70.0% Data sources: NHSO, SSO , CSMBS, GF, Thai GPO and AEM

  6. การเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์การเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  7. การเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์การเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  8. ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

  9. ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ ให้ความสนใจพื้นที่ที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงสุด คาดว่าในปัจจุบันเป็นจังหวัดที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ช่องทางถ่ายทอดเชื้อ 6% 41% 32% 10% 11% 62% of new infections 41% คาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ระหว่าง 5 ปี เท่ากับ 40,340 คน

  10. พื้นที่เร่งรัด ๓๑ จังหวัด ภาคเหนือ (๕ จังหวัด) เชียงราย เชียงใหม่ ตาก พิษณุโลก พะเยา ภาคกลาง (๑๑ จังหวัด) ลพบุรี อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม ราชบุรี นนทบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ เพชรบุรี ชลบุรี กรุงเทพฯ ภาคใต้ (๑๐ จังหวัด) ประจวบฯ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล สงขลา ภูเก็ต ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภาคอีสาน (๕ จังหวัด) อุดรธานี ขอนแก่น นครราชสีมา บุรีรัมย์ อุบลราชธานี

  11. แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 25557-59 Zero New HIV Infections • จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ Zero AIDS-related Deaths • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ Zero Discrimination • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ • Innovations and Changes • เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯใหม่มากที่สุด • ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา • เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมในระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น • พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ Optimization and Consolidation • ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด • ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน • ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ • บริการโลหิตปลอดภัย • ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ • ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ • การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ • การสื่อสารสาธารณะ มุ่งเน้นเป้าหมาย เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน

  12. กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์: ไม่มีผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่, ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับเอดส์, และ ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ การเข้าสู่ระบบ – การตรวจเอดส์ – การรักษา – การคงอยู่ในระบบ (RECRUIT) (TEST) (TREAT)(RETAIN) กำหนดบริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 4 องค์ประกอบ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมทางกฎหมายให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์และการสร้างความเป็นเจ้าของร่วม การบริหารจัดการและสนับสนุนทางวิชาการ

  13. โครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์ฯโครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์ฯ คช.ปอ. ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ คณะอนุ กก. ด้านป้องกัน คณะอนุ กก.ด้านรักษา คณะอนุ กก.ด้านเทคโนโลยีใหม่ด้านชีวการแพทย์ คณะอนุ กก. ด้านสิทธิ คณะอนุ กก.ส่งเสริมการเป็นเจ้าของร่วมของ จ.และท้องถิ่น คณะอนุกก.ระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกก.ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ระดับจังหวัด และ กทม.

  14. หน่วยงานหลักในคณะอนุกรรมการระดับประเทศหน่วยงานหลักในคณะอนุกรรมการระดับประเทศ ด้านการส่งเสริมการเป็นเจ้าของร่วมของจังหวัดและท้องถิ่น

  15. อำนาจ และหน้าที่ • จัดทำยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของจังหวัด และบูรณาการกับยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหาและบริบทของจังหวัด • ส่งเสริม สนับสนุน และบูรณาการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ ภาคธุรกิจเอกชน และองค์กรชุมชน รวมทั้งระดมทุนเพื่อเสริมการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของจังหวัด • กำกับ ดูแล ติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ และหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • แต่งตั้งบุคคลเป็นอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ระดับจังหวัด ประกอบด้วยผู้แทนจากภาครัฐ องค์การพัฒนาเอกชน ภาคธุรกิจเอกชน และองค์กรชุมชน โดยให้ผู้แทนจากภาครัฐและภาคส่วนอื่นมีสัดส่วนใกล้เคียงกันตามความเหมาะสมกับสภาพปัญหาในจังหวัด ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย ติดตามกำกับการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในจังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ • แต่งตั้งคณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญได้ตามที่เห็นสมควร • ปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

  16. MOU on HIV and Mobility Between GMS Country

  17. Adopted in Bali, Indonesia 17 Nov 2011 Fourth ASEAN Work Programme on HIV and AIDS 2011-2015 – AWP IV ASEAN Declaration

  18. การขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ระดับท้องถิ่น • การกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ (ตัวอย่างเช่น เก็บข้อมูลสถานการณ์ กลุ่มประชากรเป้าหมาย ความต้องการของชุมชนวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (SWOT, Mind map, SRM) และจัดทำแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ร่วมกับชุมชน, ศึกษานโยบาย/ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/จังหวัด, ประสานแผนและสนับสนุนงบประมาณ ฯลฯ) • การนำนโยบายหรือยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ (ตัวอย่างเช่น สื่อสารสาธารณะ, ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนถุงยางอนามัยในกลุ่มเสี่ยง, การป้องกัน ดูแลและรักษาและลดผลกระทบในกลุ่มประชากรเป้าหมาย จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์, จัดให้มีสถานที่และกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สำหรับเยาวชน, การดูแลและช่วยเหลือผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ เช่นจ่ายเบี้ยยังชีพ เครื่องอุปโภคบริโภค ฯลฯ) • การติดตามและประเมินผล

More Related