110 likes | 226 Vues
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน. ความหมาย ขอบเขต การเกิดขึ้นและการคงอยู่ คุณสมบัติ หรือหน้าที่ของรัฐ Stiglitz อำนาจรัฐ ใครเป็นเจ้าของอำนาจรัฐ ใช้อำนาจรัฐอย่างไร. รัฐ ( State ). Monopoly of Legitimate Use of Power Power อำนาจ (Sovereignty: ถูกแบ่งเป็นสามส่วน )
E N D
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบันรัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน • ความหมาย • ขอบเขต • การเกิดขึ้นและการคงอยู่ • คุณสมบัติ หรือหน้าที่ของรัฐ • Stiglitz • อำนาจรัฐ • ใครเป็นเจ้าของอำนาจรัฐ • ใช้อำนาจรัฐอย่างไร
รัฐ (State) • Monopoly of Legitimate Use of Power • Power อำนาจ (Sovereignty: ถูกแบ่งเป็นสามส่วน) • Authority to allocate resources by coersion • Coersion = law + enforcement • Law + Enforcement จำเป็นต้องมี Institutions สนับสนุน • Legitimacy ความชอบด้วยกฎหมาย • ≠ ความชอบธรรม (righteousness) • จะชอบด้วยกฎหมายได้ ต้องมี Law + Enforcement • Law and Enforcement ต้องทำหน้าที่บางอย่างเพื่อให้สังคม “ดีขึ้น” กว่าที่ไม่มี • Monopoly
ความชอบด้วยกฎหมาย (Legitimacy) • ที่มาของความชอบด้วยกฎหมาย • Divinity/Divine Right • State of Nature: คนเป็นสัตว์สังคม • Social Contract • Rational-Legal Theory (Max Weber) • คนบางกลุ่มมี Specialisationในการเป็นผู้นำหรือผู้ปกครอง • การควบคุมความชอบด้วยกฎหมาย • การยอมรับของคนในสังคม • การใช้เครื่องมือทางกฎหมาย • รัฐธรรมนูญ
การจัดองค์กรของรัฐ (Organisation of State) • Sovereignty ถูกใช้อย่างไร หรือการจัดสรรอำนาจทำอย่างไร • คนเดียว – หลายคน – ทุกคน • ข้อดี ข้อเสีย transaction costs • ไม่ว่าจะใช้อย่างไร จำเป็นต้องมี Legitimacy • =ความสอดคล้องของระบบเศรษฐกิจ • ตลาด • กรรมสิทธิ์และสัญญา • Firm • Means ที่ต่างกัน แต่มีวัตถุประสงค์เดียวกันคือ หน้าที่ของรัฐ (Functions of State) ที่ต้องทำให้สมบูรณ์
การเกิดขึ้นของรัฐ • Transaction Cost ของวิธีอื่นนั้นสูงกว่า โดยเฉพาะตลาด • ปัญหาคือ ตลาดจะเกิดก็ต้องมีรัฐอยู่แล้ว • Spontaneity ตาม New Right Approach • เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน กับตลาดและกรรมสิทธิ์ • รัฐศาสตร์: เกิดขึ้นตามธรรมชาติ • Marxism • รัฐเป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่หลายอย่าง (แหล่งผลประโยชน์ของข้าราชการ/กำหนดโครงสร้างด้านบนของสังคม (การเมือง การทูต กฎหมาย ศาล ศาสนา วัฒนธรรม)/กำหนดชนชั้นของสังคม/การยึดโยงสมาชิกในสังคมเข้าไว้ด้วยกัน/การแบ่งงานกันทำและการจ้างงาน/การครอบงำทางการเมือง โดยการแทรกแซงในด้านต่างๆ เมื่อเกิดความขัดแย้ง
การเกิดขึ้นของรัฐ • Marxism (ต่อ) • Instrumentalism เป็นเพียงเครื่องมือ • ดังนั้นสามารถปรับได้ ปรับเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อคนทุกคนได้ เพราะว่าที่ผ่านมาเป็นเครื่องมือของคนชั้นขุนนาง (aristocrat) คนชั้นกลางหรือนายทุน (bourgeoisies) ให้มาเป็นประโยชน์ต่อคนชั้นแรงงาน (proletariat) • รัฐเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกดดันของกลุ่มคนในชนชั้นเหล่านี้ไปเรื่อยๆ (institutional change)พร้อมทั้งสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป (changes in institutional environment) • Historical • ความต้องการในการค้าขาย และความจำเป็นในการได้รับความคุ้มครอง • การแข่งขันระหว่างรัฐ (ในยุคกลาง) และการเกิดขึ้นของรัฐชาติ
ระบบประชาธิปไตยและระบบทุนนิยมระบบประชาธิปไตยและระบบทุนนิยม • เป็นสองระบบที่ complement กัน • แยกอำนาจ แยกความเป็นเจ้าของ แยกๆๆๆๆๆ • Division of Labour • Specialisation • แยกเพื่อ??? • การตัดสินใจส่วนบุคคล • ทั้งด้านการเมืองและด้านเศรษฐกิจ • แต่สุดท้ายก็ต้องเกี่ยวพันกันอยู่ดี
Theory of the State • North (1979, 1981) • รัฐเป็นองค์กรองค์กรหนึ่งในสถาบันสังคม ทำหน้าที่ร่วมกับสถาบัน property right ซึ่งรัฐต้องให้การรับรอง และสถาบันตลาด (ที่รัฐก็รับรองเช่นเดียวกัน) (และในตลาดก็มี firm เป็นองค์กรอยู่ด้วย ซึ่งรัฐก็ต้องให้การรับรองด้วย) • ณ เวลาหนึ่ง มี PPC อยู่ระดับหนึ่ง ถูกกำหนดโดย Resource Endowment + Technology(Technical PPC) • แต่ละสถาบันหรือองค์กร ต่างก็มี PPC ย่อยๆ อีก • ซึ่งต่ำกว่า PPC ใหญ่ • รัฐจะทำหน้าที่ coordinate ส่วนต่างๆ (สถาบัน/องค์กร) ให้ทำงานร่วมกันของส่วนต่างๆ หรือสถาบันและองค์กรต่างๆ
Theory of the State • ระบบการเมือง หรือการจัดองค์กรของรัฐ มีผลว่า จะนำ PPC ของทุกส่วนทำงานร่วมกัน เข้าใกล้ technical barrier ได้หรือไม่ • รัฐจัดองค์กรอย่างไร และทำอะไรบ้าง • รัฐสนับสนุนให้เอกชนทำงานเต็มที่หรือไม่ • เมื่อเกิด Market Failure แล้วรัฐทำได้ดีกว่าจริงหรือไม่ • ผลิต Public Goods ได้เพียงพอหรือไม่ • ทำให้เกิด Organisationหรือ Government Failure หรือไม่
Theory of the State • Findlay and Wilson (1984) • Y = C + I + G + (X-M) • Y = f(L,K)p(G) Y Y* G G*