1 / 21

รหัสชื่อรุ่น TFR

รหัสชื่อรุ่น TFR. H. P. Y. S. T. F. R. 55. T. C. L. M. อุปกรณ์สำคัญ. แบบหัวเก๋ง P = สเปซแค็บ/ดับเบิลแคม = สปาร์ค. อุปกรณ์พิเศษ* Y= พวงมาลัยเพาเวอร์ S= รุ่นพิเศษ T= เกียร์ออโตเมติก C= ไม่มี Cataiytic Converter L= ไม่มีเครื่องปรับอากาศ M= สีเมทาลิค F = เบรกมือ

fiona
Télécharger la présentation

รหัสชื่อรุ่น TFR

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รหัสชื่อรุ่น TFR H P Y S T F R 55 T C L M อุปกรณ์สำคัญ แบบหัวเก๋ง P= สเปซแค็บ/ดับเบิลแคม =สปาร์ค อุปกรณ์พิเศษ* Y=พวงมาลัยเพาเวอร์ S=รุ่นพิเศษ T=เกียร์ออโตเมติก C=ไม่มี Cataiytic Converter L=ไม่มีเครื่องปรับอากาศ M=สีเมทาลิค F = เบรกมือ K=ไฟหน้า, ไฟท้าย, เบรกมือ E=สติ๊กเกอร์ J= ฝาท้าย เบรกมือ X=ไฟหน้าซีนอน Z=Shift on the fly 1= รุ่นใหม่ New Model (2002) ขนาดช่วงฐานล้อ H= ช่วงฐานล้อ รุ่นเครื่องยนต์ 54= 4JA1-TURBO77= 4JH1T 3,000 cc 55=4JB1-TURBO ระบบขับเคลื่อน R= ขับเคลื่อน 2 ล้อ S= ขับเคลื่อน 4 ล้อ น้ำหนักรถบรรทุกรวม F = ตัน ตระกูลรถ T= รถปิกอัพ

  2. รหัสชื่อรุ่น D-MAX (New i-TEQ)

  3. ข้อมูลที่สำคัญ ป้ายชื่อ (ป้ายพิสูจน์รถ) ป้ายชื่อ (ป้ายพิสูจน์รถ) ติดอยู่ด้านบนของผนังห้องเครื่องหน้าหม้อน้ำ หมายเลขแชสชีส์ หมายเลขแซสชีส์ตอกไว้ที่ด้านนอกข้างขวาของโครงแซสชีส์ใต้ประตูด้านคนขับ

  4. ข้อมูลที่สำคัญ หมายเลขเครื่องยนต์ หมายเลขเครื่องยนต์ตอกไว้ที่ด้านหลังซ้ายของเสื้อสูบ

  5. แผงหน้าปัดและไฟเตือนต่าง ๆ รถยนต์อีซูซุ ตระกูล TF • วิธีการตรวจเช็ก • ในขณะเครื่องยนต์กำลังเดินเครื่อง ให้ตรวจดูว่าไฟเตือนต่าง ๆ ดับไปแล้วทั้งหมดและไม่ติดขึ้นมาอีก • ไฟเตือนสีแดงบนหน้าปัดจะเตือนให้ทราบว่าเป็นอุปกรณืที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและการเสียหาย

  6. ไฟเตือนต่าง ๆรถยนต์อีซูซุ ตระกูล TF ไฟเตือนความดันน้ำมันเครื่อง ไฟเตือนไฟชาร์จ ไฟเตือนระดับน้ำมันในกรองดักน้ำ (หม้อแยกน้ำ) ของระบบน้ำมันเชื้อเพลิง รุ่นขับเคลื่อน 4 ล้อ : ไฟเตือนขับเคลื่อน 4 ล้อ ไฟเตือนระบบเบรก ไฟเตือนไฟสูง เกียร์อัตโนมัติ : ไฟเตือน CHECK TRANS (ตรวจเกียร์) เกียร์อัตโนมัติ : ไฟเตือน POWER DRIVE ไฟเตือนไฟเลี้ยวและไฟสัญญาณฉุกเฉิน

  7. ไฟเตือนต่าง ๆรถยนต์อีซูซุ ตระกูล TF ไฟแสดงตำแหน่งคันเกียร์อัตโนมัติและไฟเตือน “ปิด” โอเวอร์ไดรฟ์ ไฟเตือนน้ำมันเชื้อเพลิงในถังน้อย ไฟเตือนตรวจสอบเครื่องยนต์ เกียร์อัตโนมัติ : ไฟเตือนอุณหภูมิน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ P R N D 2 L O/D OFF

  8. การตรวจความดันลมยาง/ การตรวจความหลวมของนอตล้อ • วิธีการตรวจเช็ก • วัดลมยางขณะที่ยางเย็น คือ • ขับมาไม่เกิน 1.5 กิโลเมตร หรือจอดไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง • ใช้เกจวัดลมยางทุกครั้ง • ตรวจเติมลมยางตามค่ามาตรฐานของแต่ละรุ่นและสภาพการใช้งาน

  9. การตรวจระดับน้ำมันเครื่องการตรวจระดับน้ำมันเครื่อง วิธีการตรวจ • จอดรถให้อยู่ในแนวระดับ ติดเครื่องจนถึงอุณหภูมิทำงาน แล้วดับเครื่องทิ้วไว้ประมาณ 3 นาที เพื่อให้น้ำมันเครื่องไหลกลับลงอ่าง แล้วจึงทำการวัด • ระดับน้ำมันเครื่องที่ปลายก้านเหล็กวัดควรอยู่ระหว่างขีด “Min” และ“Max”

  10. การตรวจระดับน้ำหล่อเย็นการตรวจระดับน้ำหล่อเย็น วิธีการตรวจ • ระดับน้ำหล่อเย็นในถังพัก ต้องอยู่ระหว่างขีด “Min” และ “Max” • ใช้น้ำยาหล่อเย็นชนิดเดียวกับที่เติมอยู่ก่อนและเติมในอัตราส่วนที่เหมาะสมประมาณ 30%-50% ของน้ำหล่อเย็น • ถ้าระดับน้ำหล่อเย็นลดต่ำลงกว่าปกติ ให้ตรวจดูการรั่วซึมของหม้อน้ำ, ท่อน้ำ, ปิดหม้อน้ำ, ก๊อกถ่ายน้ำและปั๊มน้ำ

  11. การตรวจระดับน้ำกลั่นแบเตอรี่การตรวจระดับน้ำกลั่นแบเตอรี่ วิธีการตรวจ • รักษาความสะอาดบริเวณขั้วและหัวต่อสายอย่าให้มีคราบกำมะถัน ขี้เกลือ • ตรวจเช็กระดับน้ำกรดให้ครบทุกช่อง • เติมเฉพาะน้ำกลั่นเท่านั้น ข้อควรระวัง • อย่าสูบบุหรี่หรือจุดไฟบริเวณใกล้กับแบตเตอรี่ • อย่าให้น้ำกรดเข้าตา หรือถูกผิวหนัง

  12. การตรวจระดับน้ำมันเพาวเวอร์การตรวจระดับน้ำมันเพาวเวอร์ รุ่น TF* รุ่น N* รุ่น F* วิธีการตรวจ • ดับเครื่องยนต์ • ตรวจดูระดับน้ำมันในกระปุกน้ำมันเพาเวอร์ ควรอยู่ระหว่าง ขีด MIN และ MAX ข้อควรระวัง • เติมน้ำมันเพาเวอร์ตามเบอร์ที่กำหนดในคู่มือการใช้รถของอีซูซุเท่านั้น

  13. การตรวจระดับน้ำมันเบรก-คลัตช์การตรวจระดับน้ำมันเบรก-คลัตช์ วิธีการตรวจ • ตรวจระดับน้ำมันเบรกและคลัตช์ในกระปุกว่าอยู่ระหว่างเส้น MAX (สูงสุด) กับเส้น (MIN) (ต่ำสุด) ถ้าระดับต่ำกว่าเส้น MIN ให้เติมด้วยน้ำมันเบรกชนิดที่กำหนด ข้อควรระวัง • ถ้าไฟเตือนระดับน้ำมันเบรกติดขึ้นมาในขณะขับรถให้หยุดรถและเติมน้ำมันเบรกจนถึงเส้นบอกระดับสูงสุด (MAX)

  14. การตรวจความตึงของสายพานการตรวจความตึงของสายพาน วิธีการตรวจ • ตรวจความตึงของสายพานโดยการใช้หัวแม่มือกดลงตรงกลางด้วยแรงกด 10 กก. (ดังภาพ) • สายพานหย่อนลงไปได้ประมาณ 10-15 มม. แสดงว่ามีความตึงพอดีให้ตรวจการแตกลุ่ยและการชำรุดของสายพานด้วย ข้อควรระวัง • การเปลี่ยนสายพาน ต้องเปลี่ยนพร้อมกันทั้งสองเส้นเสมอ (ในกรณีใช้สายพาน 2 เส้น)

  15. การตรวจระยะฟรีและความหลวมของพวงมาลัยการตรวจระยะฟรีและความหลวมของพวงมาลัย วิธีการตรวจ • ตรวจวัดระยะฟรีของพวงมาลัยในตำแหน่งวิ่งทางตรง • หมุนพวงมาลัยไปทางใดทางหนึ่งจนกว่าล้อหน้าจะเริ่มเคลื่อนที่ (จัดระยะฟรีที่ขอบนอกของพวงมาลัยและต้องวัดทั้ง 2 ทิศทาง) ข้อควรระวัง • ระยะฟรีมาตรฐาน 10-60 มม. • ในกรณีที่รถใช้พวงมาลัยเพาเวอร์ ให้ตรวจระยะฟรีของพวงมาลัยขณะติดเครื่องยนต์ • ตรวจความหลวมของพวงมาลัยโดยการโยกพวงมาลัยไปทางด้านหน้า-หลังและด้านซ้าย-ขวา

  16. การตรวจระยะดึงของคันเบรกมือการตรวจระยะดึงของคันเบรกมือ วิธีการตรวจ • ออกแรงดึงเบรกมือจากตำแหน่งปลดสุดจนถึงตำแหน่งตึงสุด โดยใช้แรงดึงประมาณ 30 กก. ต้องได้ยินเสียงดัง 3 – 8 แกร็ก ข้อควรระวัง • ให้ปรับเบรกมือใหม่ ถ้าระยะดึงของคันเบรกมือมากกว่า 15 แกร็ก • ก่อนออกรถทุกครั้ง ต้องปลดเบรกมือและตรวจดูไฟเตือนดับ

  17. การตรวจการทำงานของระบบคลัตช์ (เกียร์ธรรมดา)

  18. การตรวจการทำงานของระบบคลัตช์ (เกียร์ธรรมดา) วิธีการตรวจ • ตรวจระยะฟรี และการทำงานของคันเหยียบคลัตช์ • ค่อย ๆ ใช้มือกดคันเหยียบคลัตช์ลงเบา ๆ และสังเกตดูว่าระยะฟรีน้อยหรือมากกว่าปกติหรือไม่ • ใช้เท้าเหยียบคลัตช์ สังเกตดูว่าระยะเหยียบคลัตช์มากหรือน้อยกว่าปกติหรือไม่ ถ้าผิดปกติให้นำรถเข้าศูนย์บริการเพื่อปรับตั้ง ข้อควรระวัง • รถยนต์อีซูซุตระกูล TF : 5-15 มม. • รถยนต์อีซูซุตระกูล N :15-45 มม. • รถยนต์อีซูซุตระกูล F :45-65 มม.

  19. การตรวจการทำงานของระบบเบรกการตรวจการทำงานของระบบเบรก 1 = ระยะฟรี 2 = ความสูง 3 = ช่วงต่ำสุด

  20. การตรวจการทำงานของระบบเบรกการตรวจการทำงานของระบบเบรก วิธีการตรวจ • ติดเครื่องยนต์เดินเบาไว้และทำการย้ำเบรกหลาย ๆครั้ง จากนั้นกดคันเหยียบเบรกลงไปเบา ๆ จนถึงจุดที่เกิดแรงต้านทาน • ถ้ามีไฟเตือนระบบเบรกติดขึ้น หรือรู้สึกว่าระยะที่ย้ำเบรกลงไปสูงหรือต่ำกว่าปกติ ควรนำรถเข้าศูนย์บริการเพื่อแก้ไข • เริ่มออกรถด้วยเกียร์ 1 แล้วลองเหยียบเบรกสังเกตว่ามีการเบรกของตัวรถผิดปกติหรือไม่ ถ้าผิดปกติ ควรนำรถเข้าศูนย์บริการเพื่อแก้ไข

  21. การตรวจการทำงานของระบบเบรกการตรวจการทำงานของระบบเบรก

More Related