1 / 36

พระธาตุประสิทธิ์รวมใจ ผ้ามุกไหมงามตา

คำขวัญประจำอำเภอนาหว้า. พระธาตุประสิทธิ์รวมใจ ผ้ามุกไหมงามตา. อาชีพจากภูมิปัญญา พัฒนาหัตถกรรมไทย. การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ในผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลนาหว้า จังหวัดนครพนม ปี 2556 อารีรัตน์ แพงยอด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.

fionn
Télécharger la présentation

พระธาตุประสิทธิ์รวมใจ ผ้ามุกไหมงามตา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำขวัญประจำอำเภอนาหว้าคำขวัญประจำอำเภอนาหว้า พระธาตุประสิทธิ์รวมใจ ผ้ามุกไหมงามตา อาชีพจากภูมิปัญญา พัฒนาหัตถกรรมไทย

  2. การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ในผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลนาหว้า จังหวัดนครพนม ปี 2556 อารีรัตน์ แพงยอด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

  3. ลักษณะทางภูมิประเทศ และการคมนาคม นาหว้า – นครพนม 96 กม. นาหว้า – สกลนคร 46 กม.

  4. N • อำเภอนาหว้า • 6 ตำบล • 68หมู่บ้าน • 11,359หลังคาเรือน • 9,840ครอบครัว • 50,685คน • โรงพยาบาลชุมชน 30 • เตียง • - รพสต. 9 แห่ง PCU 1แห่ง E W S ต.เหล่าพัฒนา ต.บ้านเสียว ต.นาคูณใหญ่ ต.ท่าเรือ ต.นาหว้า ต.นางัว

  5. ความเป็นมา • ผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบอำเภอนาหว้ามีจำนวน 1,555 คน • จากการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานพบผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทางไตจำนวนมาก • ยังไม่มีแนวทางการดูแลที่ชัดเจน ให้การดูแลรักษาร่วมในคลินิกเบาหวาน • ผู้ป่วยที่เป็นไตวายเรื้อรังระยะ4,5ขาดการเข้าถึงการส่งต่อพบแพทย์เฉพาะทาง • ผู้ป่วยไตวายระยะ4,5ขาดการเตรียมความพร้อมในการเลือกแนวทางตัดสิน ใจการรักษาบำบัดทดแทนทางไต • โรคไตวายเรื้อรังเป็นโรคที่ต้องรักษาต่อเนื่องและมักมีโรคร่วมหลายโรค ส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต จำเป็นต้องได้รับการดูแลแบบองค์รวม

  6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตแยกตามStageและได้รับบำบัดทดแทนทางไตปี 2555

  7. วัตถุประสงค์ของการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังได้รับการดูแลรักษาแบบองค์รวม 2. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมส่งต่อพบแพทย์เฉพาะทาง 3. เพื่อป้องกัน ควบคุม ลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากโรคไต เรื้อรัง และชะลอการเสื่อมของไต 4. เพื่อเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมกับการบำบัดทดแทนไต

  8. กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงานกลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน • ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง ระยะ 4-5 จำนวน 167 คน ระยะเวลาดำเนินงาน * ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556

  9. เป้าหมายการดำเนินงาน

  10. ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเตรียมการ 1.จัดตั้งคลินิกไตเรื้อรัง มอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ 2.คัดแยกกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากคลินิกเบาหวาน / จัดทำทะเบียน *ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1,2,3 รักษาในคลินิกเบาหวานรพ./รพสต/PCU * ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะ 4-5 รักษาที่คลินิกไตเรื้อรัง ทุกวันศุกร์ 3. ประชุมคณะทำงาน

  11. แนวทางการตรวจคัดกรองและส่งต่อภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานแนวทางการตรวจคัดกรองและส่งต่อภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยDM ตรวจCrและคำนวณGFR ตรวจMicroalbumin Microalbumin < 30 mg/l Microalbumin > 30 mg/l eGFR > 60 eGFR 30-59 eGFR < 30 ไม่เข้าเกณฑ์ ตรวจซ้ำ 1-2 ครั้งใน 6 เดือน ดูแลที่รพสต/PCU/คลินิกDM ให้การรักษาตามแนวทาง นัดติดตามทุก 1 ปี ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และดูแลตามเกณฑ์ ไม่ใช่ ผลเป็นบวก 2 ใน 3 ครั้ง (Microalbumin > 30 mg/l) เข้าเกณฑ์ ใช่ ส่งCKD Clinic ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และดูแลตามเกณฑ์ ส่งพบอายุรแพทย์ โรคไต Serum Cr > 2 mg/dl หรือ GFR < 60 ml/min ใช่ ไม่ใช่ ตรวจ Microalbumin ซ้ำ ทุก 1 ปี ดูแลที่รพสต/PCU/คลินิกDM. ให้การรักษาตามแนวทาง นัดติดตามทุก 3-6 เดือน (ทุก 12เดือนถ้าไตทำงานคงที่)

  12. 4.ทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โดยสหสาขาวิชาชีพ (PCT) จัดทำแนวทางการดูแล 5.จัดตั้งทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังและกำหนดบทบาทหน้าที่

  13. ทีมสหสาขาวิชาชีพ แพทย์ประจำคลินิก พยาบาลวิชาชีพ กำหนด case manager และพยาบาลรับผิดชอบในคลินิกเภสัชกร *เตรียมความรู้พยาบาลประจำคลินิกส่งเข้ารับการอบรมที่โรงพยาบาลนครพนม

  14. 6.ปรับปรุงสถานที่ จัดสถานที่ตรวจเป็นสัดส่วน แยกวัน/เวลาออกจากคลินิกอื่นๆ ให้บริการทุกวันศุกร์

  15. 7.จัดเตรียมเอกสาร/อุปกรณ์7.จัดเตรียมเอกสาร/อุปกรณ์ -แฟ้ม ใช้แฟ้มเดิมผู้ป่วยเบาหวาน -สมุดคู่มือ ใช้สมุดเดิมผู้ป่วยเบาหวาน ติดสติ๊กเกอร์ CKD

  16. เอกสารบันทึกข้อมูลพื้นฐาน ปรับใช้เหมือนกันในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประวัติทั่วไปผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ชื่อ -สกุล…........................................................วันเกิด …...................... อายุ …........ปี เพศ................. ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ม. บ้าน ต..........................อ..นาหว้า จ...นครพนม เบอร์โทร.......................... การศึกษา.........................................................อาชีพ........................................................... เลขที่ประจำตัวประชาชน ที่ติดต่อกรณีฉุกเฉิน ติดต่อบุคคลชื่อ เบอร์โทร สิทธิการรักษา[ ] ประกันสุขภาพ ( ) ในเขต ( ) นอกเขต [ ] ประกันสังคม ( ) ในเขต ( ) นอกเขต [ ] สิทธิข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ( ) รพ.เบิกให้ ( ) เบิกจ่ายเอง [ ] สิทธิเบิกได้จากหน่วยงานปกครองท้องถิ่น ( อบต. เทศบาล ) [ ] แรงงานต่างด้าว [ ] จ่ายเงินเอง ใช้สิทธิอื่นๆ .................................................... การวินิจฉัยโรค ( ) DM type1 ( ) DM Type2 ( ) HT ( ) CKD ( ) Other ประวัติการเจ็บป่วย/DM /HT/CKDโรคเรื้อรังอื่นๆ วันที่พบป่วยเป็น DM ครั้งแรก วันที่ FBS = วันที่พบป่วยเป็น HT ครั้งแรก วันที่ BP = วันที่พบป่วยเป็น CKD ครั้งแรก วันที่ CR = GFR = รักษา DM / HT / CKD ครั้งแรกที่ โรคอื่นๆระบุ..................................................................วันที่พบป่วย................................................ ประวัติการรักษาและผ่าตัดในอดีต....................................................................... ประวัติการแพ้ยา.................................................................................................. ประวัติการเจ็บป่วยโรคเรื้อรังของบุคคลมนครอบครัว.................................................................... เขต รพ.สต. / PCU ที่รับผิดชอบดูแล ( ) นาหว้า ( ) นางัว ( ) นาคอย ( ) นาคูณ ( ) อูนนา ( ) ดอนแดง ( ) ดอนศาลา ( ) ดอนปอ ( ) ท่าเรือ ( ) โคกสะอาด ลงชื่อผู้บันทึก ( )

  17. เอกสารบันทึกผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ /ภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยโรคไต แบบบันทึกผู้ป่วย CKD โรงพยาบาลนาหว้า ลำดับที่.................. ชื่อ-สกุล.................................................................อายุ............................ปี HN......................................... วันที่วินิจฉัย CKD...........................................น้ำหนัก....................กก.ส่วนสูง......................ซม.GFR.....................Stage................. โรคร่วม ( ) DM ( ) HT ( ) Renal stone ( ) Gout ( ) โรคหัวใจ ( ) อื่นๆ......................................................................... การสูบบุหรี่ ( ) สูบ....................มวน/วัน ( ) ไม่สูบ การดื่มแอลกอฮอล์ ( ) ดื่ม ( ) ไม่ดื่ม ยาที่ใช้เป็นประจำ.................................................. การประเมิน

  18. แบบบันทึกรายการอาหาร/แบบประเมินการรับประทานอาหารรายบุคคลแบบบันทึกรายการอาหาร/แบบประเมินการรับประทานอาหารรายบุคคล

  19. เอกสารแสดงรายการอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับเอกสารแสดงรายการอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ

  20. 8.เตรียมสื่อการสอน *วีดีทัศน์ ,หนังสือ, Food Model, power point *กำหนดหัวข้อความรู้ที่สำคัญและผู้ป่วยควรรู้ * กำหนดผู้รับผิดชอบในการสอน

  21. ระยะดำเนินการ กิจกรรมในคลินิก 1.เตรียมแฟ้มศึกษาข้อมูลผู้มารับบริการ ในวันนั้นเพื่อวางแผนให้ได้รับการดูแล รักษาที่เหมาะสม การให้ความรู้รายบุคคล รายที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ การส่งต่อพบ แพทย์เฉพาะทาง การคัดกรองภาวะ แทรกซ้อน 2.วัด V/S ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว BMI ลงบันทึกข้อมูล ในสมุด/แฟ้ม ลงนัดครั้งต่อไป

  22. 3.ให้สุขศึกษารายกลุ่ม ให้ความรู้เรื่องโรคไตเรื้อรัง การดูแล ภาวะแทรกซ้อน การเตรียมตัวบำบัดทดแทน ทางไต โดยพยาบาลวิชาชีพ

  23. ให้ความรู้เรื่องอาหารโดยพยาบาลวิชาชีพให้ความรู้เรื่องอาหารโดยพยาบาลวิชาชีพ ในวันคลินิก จะจัดทำอาหารพื้นบ้านเพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้จริง จากการประกอบอาหาร(Cooking class)ปริมาณอาหารและเครื่องปรุงที่ควรได้รับ

  24. ให้ความรู้ยาที่ใช้ในการรักษาโรคไตเรื้อรัง ยาที่มีผลต่อไตที่ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยง โดยเภสัชกร

  25. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้บุคคลที่สามารถควบคุมโรคได้มาเป็นตัวอย่างแลกเปลี่ยนประสบการณ์

  26. 3. ซักประวัติโดยพยาบาลวิชาชีพ ประเมิน 2Q ลงบันทึก ภาวะสุขภาพ ให้ความรู้รายบุคคล ในประเด็นปัญหาในวันนั้น • ประสานการส่งต่อพบแพทย์เฉพาะทาง • พฤติกรรมสุขภาพ(life style modification) • Self-management • Empowerment ผู้ป่วยและญาติ

  27. 4.ตรวจรักษาโดยแพทย์ตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง แนวทางการดูแล :อ้างอิงจาก คู่มือการจัดการดูแลผู้โรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น ; 2555 และคู่มือการดูแลผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วยโรคไต หน่วยไต โรงพยาบาลนครพนม;2555

  28. 5.ประสานเครือข่ายการดูแลต่อเนื่อง/ติดตามเยี่ยมบ้าน.5.ประสานเครือข่ายการดูแลต่อเนื่อง/ติดตามเยี่ยมบ้าน.

  29. ระยะประเมินผล 1.ประเมิน ผลการตรวจร่างกาย ระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 2.การได้รับการเข้าถึงการวินิจฉัยและรักษา การส่งต่อพบแพทย์เฉพาะทาง

  30. ผลการดำเนินงาน

  31. ผลการดำเนินงาน

  32. ร้อยละของการบำบัดทดแทนทางไตร้อยละของการบำบัดทดแทนทางไต

  33. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารและโรงพยาบาลนครพนมได้ให้แพทย์เฉพาะทางออกตรวจผู้ป่วยไตเรื้อรังในอำเภอส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางอย่างครอบคลุมและ ลดภาระค่าใช้จ่ายผู้ป่วย 2.ความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพ 3.ความร่วมมือการเอาใจใส่ในการดูแล ตนเองผู้ป่วย

  34. โอกาสพัฒนา • จัดตั้งชมรมรักษ์ไต/ จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในชุมชน • ขยายการดูแลไตวายเรื้อรังใน Stage 3 ทั้งในคลินิกและ รพสต./ PCU เพื่อชะลอการเสื่อมของไตได้มากขึ้น • ขยายการดูแลไตเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ • เน้นการดูแลผู้ป่วยรายกรณีเพื่อที่สามารถจัดการกับปัญหาได้เนื่องจากปัญหาของแต่ละคนต่างกัน

  35. . . ขอบคุณค่ะ

More Related