1 / 18

แนวความคิดการขับเคลื่อน การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีชีวิตของชาวพิษณุโลก

แนวความคิดการขับเคลื่อน การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีชีวิตของชาวพิษณุโลก. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. ความพอประมาณ. ความมีเหตุผล. ความมีภูมิคุ้มกัน. เงื่อนไข. ความรู้. คุณธรรม.

fisseha
Télécharger la présentation

แนวความคิดการขับเคลื่อน การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีชีวิตของชาวพิษณุโลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวความคิดการขับเคลื่อนแนวความคิดการขับเคลื่อน การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีชีวิตของชาวพิษณุโลก

  2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไข ความรู้ คุณธรรม

  3. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการดำรงชีวิต ที่มีเหตุผล โดยใช้ความพอประมาณเป็นปัจจัย ในการขับเคลื่อน และสร้างเป็นภูมิคุ้มกันตน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นมิติทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ที่มีการบูรณาการร่วมกัน ดังนั้น การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นวิถีชีวิต จึงต้องบูรณาการมิติเหล่านี้เข้าด้วยกัน มิใช่ การปฏิบัติเพียงมิติใดมิติหนึ่งแล้ว บอกว่าเป็นเศรษฐกิจพอเพียง

  4. วัตถุประสงค์ 1.เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2.พัฒนาเศรษฐกิจเพิ่มรายได้และการออม 3.แก้ไขปัญหาสังคมและคนด้อยโอกาส 4.ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.เป็นวิถีชีวิตที่มีภูมิคุ้มกัน 6.สังคมที่มีความรู้และคุณธรรม 7.ส่งเสริมประชาชนให้มีเหตุผลในการบริโภค ให้ปราศจากอบายมุข และยาเสพติด

  5. การขับเคลื่อน สถาบันหลักทางสังคม บ้าน วัด โรงเรียน 1. บ้านเป็นตัวอย่างที่ดีของการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นบ้านที่มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกัน การเพิ่มรายได้ การออม และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. วัด ส่งเสริมคุณธรรม ศีลธรรม ให้ราษฎรมีภูมิคุ้มกันทางสังคม และวัฒนธรรม 3. โรงเรียนปลูกฝังปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้มีภูมิคุ้มกันทางสภาวะเศรษฐกิจสังคม ให้เป็นคนดีในปัจจุบันและวันข้างหน้า 4. องค์กร ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ส่งเสริมและผลักดันการขับเคลื่อนการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  6. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน ประกอบด้วย 1. การรณรงค์เสริมสร้างความรู้ กระตุ้นและสร้างความตระหนักในการซึมซับน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นวิถีชีวิต (ผ่านสื่อวิทยุ วิทยุชุมชน ดีเจ รายการ ผู้ว่ามาแล้ว เสียงตามสาย และการสอดแทรกปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในการประชุมสัมมนา ฝึกอบรม ที่จัดขึ้น เป็นต้น 2. การส่งเสริมให้สถาบันหลักทางสังคม บ้าน วัด โรงเรียนเป็นศูนย์กลาง ของการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นวิถีชีวิต 3. การพัฒนาองค์ความรู้หรือต่อยอดไปสู่ความยั่งยืน 4.การควบคุมโดยใช้มาตรการทางกฎหมาย

  7. การบริหารจัดการ 1. มีโครงสร้างองค์กรการปฏิบัติหน้าที่ที่ชัดเจน และมีการติดตามประเมินผล 2. เป็นการบูรณาการของทุกภาคส่วน ทั้งคน งาน เงิน ที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยอาศัยหลักความเป็นเจ้าภาพหลัก เจ้าภาพรอง เจ้าภาพสนับสนุน ดังนี้ ที่ทำการปกครองจังหวัด อำเภอ และ สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สนง.สาธารณสุขจังหวัด เป็นเจ้าภาพหลัก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนง.สาธารณสุขจังหวัด อำเภอ หน่วยงานสังกัดเกษตรและสหกรณ์จังหวัด คณะกรรมการหมู่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน คณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรี เป็นเจ้าภาพร่วม ส่วนราชการต่างๆ ภาคเอกชน เป็นเจ้าภาพสนับสนุน บ้าน บ้าน

  8. การบริหารจัดการ วัด คณะสงฆ์จังหวัด และสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด เป็นเจ้าภาพหลัก  สนง.วัฒนธรรมจังหวัด สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา คณะกรรมการอาชีวะจังหวัด สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและตาม อัธยาศัยจังหวัด เป็นเจ้าภาพร่วม ส่วนราชการต่างๆ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเจ้าภาพสนับสนุน

  9. การบริหารจัดการ โรงเรียน

  10. การบริหารจัดการ องค์กร

  11. การประชาสัมพันธ์ • - สนง.ประชาสัมพันธ์จังหวัด เป็นเจ้าภาพหลัก • สื่อมวลชลทุกแขนง เป็นเจ้าภาพร่วม • - ส่วนราชการต่างๆ และภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเจ้าภาพสนับสนุน การสำรวจผลการปฏิบัติจากประชาชน • - สนง.สถิติจังหวัด เป็นเจ้าภาพหลัก • ส่วนราชการต่างๆ และภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเจ้าภาพสนับสนุน

  12. การบูรณาการในภาพรวม • สำนักงานจังหวัด ที่ทำการปกครองจังหวัด สนง.ทรัพยากรณ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1,2,3 และ สนง.เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39 • เป็นเจ้าภาพหลัก

  13. การกำกับดูแลการปฏิบัติการกำกับดูแลการปฏิบัติ - รองผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ได้รับมอบหมายในการกำกับดูแลงานของส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เป็นเจ้าภาพหลัก

  14. การปฏิบัติ 1. สำรวจโครงการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของทุกส่วนราชการ เพื่อให้ทราบและมีต้นทุนในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดโครงการที่มีอยู่ให้จัดอยู่เป็นหมวดหมู่ตามยุทธศาสตร์ 2. จัดโครงสร้างของการบริหารจัดการ เพื่อเป็นองค์กรบูรณาการและขับเคลื่อน

  15. การปฏิบัติ 3. จัดทำโครงการนอกเหนือจากข้อ 1 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ โดยให้เจ้าภาพหลักแต่ละด้านประชุมปรึกษาหารือกับส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการ ทั้งในรูปแบบของการต่อยอด หรือโครงการใหม่ที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์โดยตรง เป็น Flag Ship หรือ Best Practice 4. กำกับให้เกิดการปฏิบัติและติดตามผล

  16. การปฏิบัติ 5. จัดทำรายงานสรุปผลประจำปี รวมทั้งสำรวจความคิดเห็นของประชาชน 6. ติดตามผลการปลูกผักพระราชทาน และรายงานมูลนิธิชัยพัฒนา 7.ประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมโดยตั้งคณะทำงานดำเนินการร่วมกัน

  17. ตัวชี้วัด เชิงคุณภาพ - การรับรู้ รับทราบ เรียนรู้ถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ประชาชน - การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ ให้ เป็นวิถีชีวิตในระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชน - การต่อยอดและนำไปสู่ความยั่งยืน เชิงปริมาณ - การลดลงของการบริโภคสิ่งที่เป็นอบายมุข - จำนวนหนี้สินที่ลดลง และการออมที่เพิ่มขึ้น

More Related