450 likes | 1.08k Vues
บทที่ 7. วงจรซีเควนเชียล : ฟลิปฟลอบและวงจรนับ. เนื้อหา. เกริ่นนำ วงจรแลทช์ Edge-Triggered Flip-Flops (ET-FFs) คุณลักษณะการทำงานของฟลิปฟลอบ การะประยุกต์ใช้งานฟลิปฟลอป วงจร ONE-SHOTS วงจรกำหนดฐานเวลา 555 บทสรุป. เกริ่นนำ. วงจรดิจิตอลสามารถแยกออกได้เป็นสองวงจรคือ :-.
E N D
บทที่ 7 วงจรซีเควนเชียล: ฟลิปฟลอบและวงจรนับ 241-208 CH7
เนื้อหา • เกริ่นนำ • วงจรแลทช์ • Edge-Triggered Flip-Flops (ET-FFs) • คุณลักษณะการทำงานของฟลิปฟลอบ • การะประยุกต์ใช้งานฟลิปฟลอป • วงจร ONE-SHOTS • วงจรกำหนดฐานเวลา 555 • บทสรุป 241-208 CH7
เกริ่นนำ วงจรดิจิตอลสามารถแยกออกได้เป็นสองวงจรคือ:- เอาต์พุตอาจขึ้นอยู่กับอินพุต และเอาต์พุตในอดีต เอาต์พุตวงจรขึ้นอยู่กับอินพุต ณ เวลาปัจจุบัน 241-208 CH7
เกริ่นนำ (ต่อ) วงจรซิงโครนัสและวงจรอะซิงโครนัส • ทุกๆสถานะการทำงานในวงจรจะ • เกิดขึ้นพร้อมกันด้วยสัญญาณ • นาฬิกา • ผลลัพธ์ของวงจรจะเปลี่ยนแปลง • พร้อมกัน • ทุกสถานะการทำงานในวงจรจะไม่ขึ้นกับ • สัญญาณนาฬิกา • ผลลัพธ์ของวงจรอาจไม่เปลี่ยนแปลง • พร้อมกัน 241-208 CH7
S Q Q R 7.1 วงจรแลทช์ • วงจรแลทช์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลชั่วคราวที่สามารถเก็บข้อมูลได้สองสถานะอาจพิจารณาได้ว่าเป็นหน่วยความจำแบบหนึ่ง • วงจรแลทช์แบบ S-R (Set-Reset) เป็นวงจรที่พื้นฐานที่สุดซึ่งสามารถสังเคราะห์ได้จากเกท NOR และ NAND ดังรูป R Q Q S NOR Active-HIGH Latch NAND Active-LOW Latch 241-208 CH7
R R Q Q S S Q Q 7.1 วงจรแลทช์ (แบบ S-R) วงจรแลทช์แบบ S-R ที่ ACTIVE HIGH จะคงสถานะเดิมไว้หากอินพุตของ วงจรทั้งคู่เป็นลอจิก LOW 0 0 1 แลทช์ถูกรีเซ็ทก่อนหน้า สมมุติให้ แลทช์ถูกรีเซท (Q = 0) ณ สถานะก่อนหน้าเราเซ็ตแลทช์ โดยป้อน ลอจิก HIGH ที่ขา S และ LOW ที่ขา R 0 1 0 0 1 0 Latch initially SET ในการรีเซ็ทแลทช์ จะป้อนลอจิก LOW ที่ขา S และ HIGH ที่ขา R 0 1 0 241-208 CH7
S R S Q Q R 7.1 วงจรแลทช์ (แบบ S-R) กรณี แลทช์แบบ active-LOW วงจรแลทช์นี้จะคงสถานะเดิม (latch) เมื่ออินพุตทั้งคู่เป็น HIGH. 1 0 1 Q กรณี เซ็ท ??? Latch initially RESET 0 1 1 1 0 1 Q กรณี รีเซ็ท Latch initially SET 0 1 1 241-208 CH7
Q 7.1 วงจรแลทช์ (แบบ Enable) วงจรแลทช์แบบนี้เรียก gated latch จะมีขาอินพุตชื่อ ENABLE ซึ่งวงจรจะทำงานต่อเมื่อป้อนอินพุตให้ขานี้ ACTIVE S Q EN วาดเอาต์พุตQ Example R Solution S R EN Q 241-208 CH7
Q Q 7.1 วงจรแลทช์ (D) วงจรแลทช์แบบ D คือรูปแบบหนึ่งของวงจร S-R โดยสามารถสร้างจากวงจรแลทช์แบบ S-R ได้โดยยุบรวมขาอินพุตของแลทช์แบบ S-R เป็นขา D ดังรูป D Q D Q EN EN กฎการทำงานง่ายๆของวงจรแลทช์แบบ D คือ : เอาต์พุต Qจะตาม Dเมื่อป้อนขา Enable ให้ Active 241-208 CH7
7.1 วงจรแลทช์ (D) ตารางความจริงของวงจรแลทช์แบบ D 241-208 CH7
Q สังเกตสัญญาณที่ขา EN 7.1 วงจรแลทช์(ตัวอย่าง) Q D EN จงหาเอาต์พุตQของวงจรแลทช์แบบDหากสัญญาณอินพุตคือ 241-208 CH7
7.2 วงจรฟลิปฟลอป (แบบEdge-Triggered) ชนิดวงจร: อุปกรณ์ซิงโครนัสแบบ bistable Q:ความหมายของ bistable A: วงจรจะคงค่าลอจิกใดลอจิกหนึ่งค้างไว้ จนกว่าจะได้รับอินพุตลอจิก จึงจะทำให้วงจรเปลี่ยนสถานะ 241-208 CH7
7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) • คุณสมบัติ: • อุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบ 1 บิต • อุปกรณ์ FF มีเอาต์พุตสองขาที่บิตตรงข้ามกัน (Q, Q) • มี FF สามชนิดคือ R-S, D และ J-K • มีการเปลี่ยนสถานะตามขอบการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณนาฬิกา (ขอบขาขึ้นหรือขอบขาลง) 241-208 CH7
7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) รูปแบบการเปลี่ยนแปลงตามขอบขาขึ้น (positive edge triggered) หรือขอบขาลง (negative edge-triggered) จุดสังเกต 241-208 CH7
Q 7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) Q • ใช้งานหลากหลายได้มากกว่า FFs ตัวอื่น. • มีอินพุต (J and K)และเอาต์พุตสองขา J CLK K สัญลักษณ์ของ Positive ET-J-K FF โครงสร้างแบบลดรูปของ J-K FF 241-208 CH7
Q 7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) Q J CLK K ตารางความจริงของPositive ET-J-K FF คิดอย่างไร ?? 241-208 CH7
7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) ตัวอย่างที่ช่วยทดสอบความเข้าใจ พิจารณาเฉพาะตรงช่วงขอบขาขึ้น 241-208 CH7
7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) ตัวอย่างเพิ่มเติม !! Set Toggle Set Latch CLK J K Q 241-208 CH7
Q 7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) ขาอินพุตควบคุมการำทงานแบบอะซิงโครนัสได้แก่ PresetและClear PRE Q J CLK K CLR 241-208 CH7
PRE Q CLR 7.2 วงจรฟลิปฟลอป(แบบEdge-Triggered) ทดสอบความเข้าใจ ? Latch Set Toggle Set Reset Toggle PRE CLK Q J J K Set CLK Reset K Q CLR 241-208 CH7
7.3 คุณลักษณะการทำงานของวงจรฟลิปฟลอป เวลาหน่วง(Propagation delay time)แล้วแต่ว่าจะระบุเป็นช่วงขอบขาขึ้นหรือลงจะนิยามโดยวัดจากค่า 50% ของสัญญาณนาฬิกาไปจรดค่า 50% ของเอาต์พุต 50% point on triggering edge CLK CLK 50% point 50% point on HIGH-to- LOW transition of Q Q Q 50% point on LOW-to-HIGH transition of Q tPLH tPHL 241-208 CH7
7.3 คุณลักษณะการทำงานของวงจรฟลิปฟลอป(ต่อ) ค่าเวลาหน่วงนิยามอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวคือ เวลาหน่วงแบบอะซิงโครนัสกรณีไอซีตระกูล 74AHC จะมีเวลาหน่วงประมาณ 5 นาโนวินาที 50% point CLR 50% point PRE Q 50% point Q 50% point tPHL tPLH 241-208 CH7
7.3 คุณลักษณะการทำงานของวงจรฟลิปฟลอป (ต่อ) D เวลาเซ็ทอัพคือค่าเวลาที่น้อยที่สุดที่จะมีลอจิก HIGH ก่อนสัญญาณนาฬิกา CLK Set-up time, ts เวลาโฮลด์คือค่าเวลาต่ำสุดที่ยังคงสถานะลอจิก HIGH หลังจากมีสัญญาณนาฬิกา D CLK Hold time, tH 241-208 CH7
7.3 คุณลักษณะการทำงานของวงจรฟลิปฟลอป (ต่อ) • คุณสมบัติอื่นๆได้แก่ • ความถี่สัญญาณนาฬิกาสูงสุด • ความกว้างพัลส์ • กำลังไฟที่ใช้ • ผลคูณกำลังไฟและความเร็ว 241-208 CH7
7.4 การประยุกต์ใช้งาน FF • วงจรเก็บข้อมูลแบบขนาน • วงจรหารความถี่ • วงจรนับ(อธิบายภายหลัง) 241-208 CH7
Q 7.4 การประยุกต์ใช้งาน FF (ต่อ) Output lines วงจรเก็บข้อมูล Q0 ข้อมูลถูกเก็บไว้จนกระทั่งมีสัญญาณนาฬิการอบต่อไป Q1 PRE Q J Q2 Parallel data input lines CLK Q3 K Clock CLR Clear 241-208 CH7
7.4 การประยุกต์ใช้งาน FF (ต่อ) สำหรับวงจรหารความถี่จะใช้การต่อ FF ในโหมด TOGGLE ซึ่งจะทำให้ได้วงจรหาร 2. HIGH HIGH การต่อ FF 1 ตัวจะสามาถหารความถี่ได้ 2 เท่า ถ้าต่อ 2 ตัวจะหารความถี่ได้ 4 เท่า ข้อดีของการหาความถี่แบบนี้คือ เอาท์พุทวงจรจะมีค่าduty cycle50%. QA QB fout J J fin CLK CLK K K fin รูปคลื่น fout 241-208 CH7
7.5 One-Shots วงจรนี้หรือเรียกว่าโมโนสเตเบิลเป็นอุปกรณ์เสถียรสถานะเดียววงจรจะทำงานในสถานะที่ไม่เสถียรเมื่อมีการกระตุ้นช่วงค่าเวลาค่าหนึ่งหลังจากนั้นจะกลับสู่สภาวะเสถียร 241-208 CH7
Q 7.5 One-Shots (ต่อ.) +V ค่าความยาวของช่วงเวลาที่ไม่เสถียร (tW) จะกำหนดจากวงจร RC ภายนอก REXT CEXT Q CX RX/CX Trigger Trigger Q tW 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 ไอซีและสัญลักษณ์ 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) การต่อไอซี 555 timer เพื่อทำงานเป็นวงจร one-shot ความกว้างพัลส์ขึ้นอยู่กับR1C1ตามสมการประมาณtW = 1.1R1C1. R1 RESET VCC DISCH สัญญาณกระตุ้นจากภายนอกเป็นพัลส์ลบ THRES OUT tW = 1.1R1C1 TRIG CONT GND C1 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา555 timer (ต่อ) อธิบาย การทำงานของวงจร 555 เป็น oneshot ก่อนถูกกระตุ้น 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) อธิบาย การทำงานของวงจร 555 เป็น oneshot เมื่อกระตุ้น 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) อธิบาย การทำงานของวงจร 555 เป็น oneshot ครบช่วงรอบการทำงาน 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) การต่อวงจรไอซี 555 เพื่อใช้งานเป็นวงจรแบบไร้เสถียรภาพ(ออสซิลเลเตอร์) 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) การใช้งานไอซีเป็นวงจรออสซิลเลเตอร์ ค่า C1อัดประจุผ่านR1R2และคายประจุผ่านเฉพาะR2ความถี่ของสัญญาณเอาต์พุทกำหนดจาก: +VCC R1 RESET VCC DISCH R2 THRES OUT TRIG CONT C1 GND 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) อธิบายการทำงาน 241-208 CH7
7.6 วงจรกำหนดฐานเวลา 555 (ต่อ) ผังกราฟสำหรับการออกแบบเพื่อทำงานเป็นวงจรออสซิลเลเตอร์ +VCC R1 RESET VCC DISCH C1 (mF) R2 THRES OUT TRIG CONT C1 GND f (Hz) 241-208 CH7
7.7 สรุป • วงจรแลทช์: วงจรแบบไบสเตเบิลเก็บข้อมูล 1 บิตได้. • วงจรไบสเตเบิล: เป็นวงจรที่มีสถานะเสถียรสองสถานะ วงจรเหล่านี้ได้แก่ แลทช์และฟลิปฟลอป • J-K Flip-flop: ฟลิปฟลอปที่มีโหมดการทำงานคือ เซ็ท รีเซ็ท ไม่เปลี่ยนแปลง และ ท็อกเกิล 241-208 CH7
7.7 สรุป (ต่อ) • ใช้งานอุปกรณ์ฟลิปฟลอปเช่น วงจรหารความถี่ เก็บข้อมูล และวงจรนับ • วงจรซีเควนเชียลแบบอื่นได้แก่ วงจรไร้เสถียรและเสถียรสถานะเดียว 241-208 CH7