1 / 14

ประเด็นยกร่าง ด้าน การจัดการน้ำ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

ประเด็นยกร่าง ด้าน การจัดการน้ำ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11 ม . ค . 2554. 1. ประเด็น. ความเสี่ยงด้านน้ำของประเทศ การจัดการน้ำ สร้างความมั่นคงด้านน้ำ ด้วย ระบบหลัก ระบบสำรอง และระบบฉุกเฉิน การจัดการเวลาเกิดภัยพิบัติ

Télécharger la présentation

ประเด็นยกร่าง ด้าน การจัดการน้ำ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นยกร่าง ด้าน การจัดการน้ำ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11 ม.ค.2554 1

  2. ประเด็น • ความเสี่ยงด้านน้ำของประเทศ • การจัดการน้ำ • สร้างความมั่นคงด้านน้ำ ด้วย ระบบหลัก ระบบสำรอง และระบบฉุกเฉิน • การจัดการเวลาเกิดภัยพิบัติ • กฎหมายน้ำจำเป็นต้องมีแม่บทด้านทรัพยากรน้ำ • งานวิจัยเรื่องน้ำ ที่นำไปสู่การจัดการได้จริง • บทบาทของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ • การสนับสนุนให้เกิดธุรกิจน้ำ ในพื้นที่และภาคส่วนที่พร้อม เช่น สมุย ภูเก็ต หรือกนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ 2

  3. ความเสี่ยง: การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับสถานการณ์น้ำประเทศไทย ปริมาณฝนรายปี 2544-2552 เทียบกับปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย 2493-2540 ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ย 2493-2540 1,374 มม./ปี ความเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยมากขึ้น และ > 10% 3

  4. ความแปรปรวนของฝนและปริมาณน้ำไหลลงอ่างขนาดใหญ่ข้อมูลรายปีเฉลี่ย ปี 2548-2552 ความแปรปรวนสูงขึ้น เชิงพื้นที่ และ เวลา 4

  5. พื้นที่เกษตร ในและนอกเขตชลประทาน

  6. ประเด็น • การจัดการน้ำ • สร้างความมั่นคงด้านน้ำ ด้วย ระบบหลัก ระบบสำรอง และระบบฉุกเฉิน • การจัดการเวลาเกิดภัยพิบัติ 6

  7. 1. การบริหารจัดการน้ำต้องทำร่วมกัน ต้นน้ำ (กรมทรัพยากรน้ำ) ระบบชลประทานหลัก (กรมชลประทาน) ระบบชลประทานรอง (กรมชลประทาน) พื้นที่ชุ่มน้ำ (กรมทรัพยากรน้ำ) น้ำท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น) การให้บริการน้ำ (กระทรวงมหาดไทย, กรมชลประทาน, กระทรวงอุตสาหกรรม, กระทรวงพลังงาน) ระบบน้ำสำรอง – น้ำบาดาล (กรมทรัพยากรน้ำบาดาล) ระบบฉุกเฉิน / วิกฤต

  8. 1. นโยบาย การประเมิน และติดตาม สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมพัฒนาที่ดิน 2. น้ำต้นทุน ป่าต้นน้ำ พท.ต้นน้ำ บึง สิ่งแวดล้อม 3. ระบบชลประทานหลัก 4. ระบบชลประทานรอง 5. ระบบการจัดการน้ำชุมชน 8. ระบบสนับสนุน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน กรมชลประทาน กรมประมง กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมการปกครอง กรมประมง สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง รัฐวิสาหกิจ กรมพัฒนาดี่ดิน 6. ระบบบริการน้ำประปา น้ำเพื่ออุตสาหกรรม การเคหะแห่งชาติ กระทรวงกลาโหม กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงอุตสาหกรรม กรมป่าไม้ กรมการปกครอง สำนักการระบายน้ำ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงคมนาคม กรมทรัพยากรน้ำบาดาล รัฐวิสาหกิจ 7. ระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี การประปานครหลวง กรมทรัพยากรน้ำบาดาล การประปาส่วนภูมิภาค กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมอุตุนิยมวิทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่วนราชการอิสระ/ รัฐวิสาหกิจ อบจ. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ อบต. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โอนภารกิจ การจัดกลุ่มภารกิจด้านทรัพยากรน้ำ

  9. GIS MIS Data Management การจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน: น้ำท้องถิ่น เพิ่มความยืดหยุ่น • การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขด้วยชุมชนเอง เน้นความเป็นเจ้าของน้ำ Learning Technology 9 9

  10. โครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอย่างความสำเร็จการจัดการน้ำชุมชนชุมชนบ้านลิ่มทอง (Best Practice) 10 หนี้สินครัวเรือน ลดลงจาก 2,639,000 บาท เป็น 1,841,392 บาท ในปี 2552 *เก็บตัวอย่างจาก 15 ครัวเรือนในปี 2552

  11. โครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบริหารจัดการเครือข่าย แลกเปลี่ยนความรู้ เกษตรประณีต 1 ไร่ การขยายเครือข่าย ชุมชนบ้านลิ่มทอง การศึกษาดูงานของกลุ่มอาชีพผึ้งโกร๋นและกล้วยไม้ แลกเปลี่ยนความรู้ กับชุมชนแม่ข่าย 11

  12. ประเด็น • กฎหมายน้ำจำเป็นต้องมีแม่บทด้านทรัพยากรน้ำ • โดยสภาผู้แทนราษฎร • - กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำที่มีอยู่ปัจจุบันเป็นกฎหมายเฉพาะด้าน เช่น การชลประทาน คลองและทางน้ำ น้ำบาดาล เป็นต้น • - ต้องมี พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำที่เป็นหลักหรือแม่บทด้านทรัพยากรน้ำ เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงานให้กับทั้งส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และประชาชน • - ครอบคลุมพื้นที่แหล่งน้ำ เขื่อน อ่างเก็บน้ำ ระบบชลประทาน ฝาย พื้นที่ใช้น้ำ รวมไปถึงการให้บริการน้ำทั้งระบบ 12

  13. 2. กฎหมายน้ำจำเป็นต้องมีแม่บทด้านทรัพยากรน้ำโดยสภาผู้แทนราษฎร กฎหมาย นโยบาย และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ สภาพปัจจุบันของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำ (๒๕๕๑) ที่เป็นกฎหมายเฉพาะด้าน

  14. ประเด็น • งานวิจัยเรื่องน้ำ ที่นำไปสู่การจัดการได้จริง • คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ควรขึ้นกับสำนักนายกรัฐมนตรี และ บทบาทควรเน้นการกำหนดนโยบาย และการตรวจสอบ • การสนับสนุนให้เกิดธุรกิจน้ำ ในพื้นที่และภาคส่วนที่พร้อม เช่น สมุย ภูเก็ต หรือกนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ 14

More Related