480 likes | 787 Vues
Malaria. ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ ปีบประมาณ 2543-2551. Fiscal Year. จำนวนผู้ป่วยมาลาเรียรายเดือน (ผู้ป่วยไทย) ปีงบประมาณ 2547-2551. จำนวนผู้ป่วย (ราย). รวม. 30,264. 27,381. 30,338. 35,587. 26,064. เดือน. N. ลาว. 4. 1. เมียนมาร์. 6. กัมพูชา. 9. 10. 7. 5. 8. 2. 3.
E N D
ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ ปีบประมาณ 2543-2551 Fiscal Year
จำนวนผู้ป่วยมาลาเรียรายเดือน (ผู้ป่วยไทย) ปีงบประมาณ 2547-2551 จำนวนผู้ป่วย (ราย) รวม 30,264 27,381 30,338 35,587 26,064 เดือน
N ลาว 4 1 เมียนมาร์ 6 กัมพูชา 9 10 7 5 8 2 3 มาเลเซีย แสดงสิบจังหวัดแรกที่พบผู้มาลาเรียสูง ในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2551 • ตาก (5,386) • ยะลา (5,330) • นราธิวาส (1,690) • แม่ฮ่องสอน (1,450) • ระนอง (1,280) • กาญจนบุรี (1,218) • ชุมพร (1,167) • สงขลา (1,047) • จันทบุรี (925) • ประจวบคีรีขันธ์ (891)
อัตราตายด้วยไข้มาลาเรีย ปี พ.ศ. 2498-2550 อัตราตายต่อประชากรแสนคน 0.15 ปี แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สัดส่วนผู้ป่วยไทย 30 จังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 ไทย-เมียนมาร์ (54.6 %) ไทย-มาเลเซีย (34.9 %) ไทย-กัมพูชา (8.5 %) ไทย-ลาว (2.0 %) Source: Malaria Cluster, Department of Disease Control, MoPH
ไทย-เมียนมาร์ (95.8 %) ไทย-มาเลเซีย (0.7 %) ไทย-ลาว (0.05 %) ไทย-กัมพูชา (3.5 %) สัดส่วนผู้ป่วยต่างชาติ 30 จังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 Source: Malaria Cluster, Department of Disease Control, MoPH
จำนวนผู้ป่วยไทยและต่างชาติ ในจังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 จำนวนผู้ป่วย
อัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (API) ปีงบประมาณ 2508-2551 อัตราป่วยต่อประชาการพันคน 0.41 ปีงบประมาณ
จำนวนผู้ป่วยไทยและจำนวนผู้ติดเชื้อมาลาเรียชนิด P.falciparumและ P.vivax ปีงบประมาณ 2508-2551 จำนวนผู้ป่วย Fiscal Year
อัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (API), อัตราการตรวจโลหิต (ABER)และอัตราการพบเชื้อ (SPR) ปีงบประมาณ 2508-2551 ABER&SPR / 100 pop. API / 1,000 pop. ปีงบประมาณ
ร้อยละ M MSP CHL QT M SP2 SP3 M+ATS ปีงบประมาณ สัดส่วนของเชื้อมาลาเรียและชนิดของยาต้านมาลาเรียที่ใช้รักษาปีงบประมาณ 2508-2551
N ลาว เมียนมาร์ กัมพูชา มาเลเซีย แสดงจังหวัดควบคุมมาลาเรีย ที่มีตำบลพบผู้ป่วยมาลาเรีย ปี 2551 ตำบลพบไข้มาลาเรีย สูง 14 จ. ปานกลาง 4 จ. ต่ำ 4 จ. ต่ำมาก 25 จ. จังหวัดผสมผสานงาน 29 จ.
ในประเทศไทยมียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะหลักคือในประเทศไทยมียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะหลักคือ • Anopheles dirus • ไวต่อต่อการแพร่เชื้อ แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่ง ซอกหิน บริเวณน้ำตก • Anopheles minimus • พบได้ทั่วไป แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก น้ำใสไหลเอื่อย • Anopheles maculatus • พบในสวนยางพาราและสวนผลไม้ แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก ไหลเอื่อย • Anopheles aconitus • แหล่งเพาะพันธุ์ ในทุ่งนาข้าว • Anopheles epirotichus • ชายทะเล แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่งน้ำขัง น้ำกร่อย • Anopheles pseudowillmori แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก น้ำใสไหลเอื่อย
Malaria เกิดจาก sporozoa ใน Genus Plasmodium เชื้อที่ก่อโรคในคนมี 4 species ได้แก่ • Plasmodium falciparum • P. vivax • P. malariae • P. ovale
การติดต่อ • ยุงที่เป็นพาหะกัด • ได้รับเลือดจากผู้ป่วย • แม่สู่ลูก • เข็มฉีดยา
อาการวิทยาและพยาธิวิทยาอาการวิทยาและพยาธิวิทยา • อาการจะแสดงเมื่อปรสิตเจริญแบ่งตัวในเม็ดเลือดแดงอย่างน้อยหนึ่งรอบ • ระยะฟักตัวประมาณ 7-10 วัน (P. malariaeหลายสัปดาห์) • อาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ต่ำ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว • ต้องวินิจฉัยแยกจากโรคอื่น
อาการโดยทั่วไป P. falciparum • อาจมีอาการกลับมาใหม่ใน 6 เดือน-1ปี • การกลับเป็นซ้ำ เกิดจากตัวเชื้อสามารถหลบภูมิคุ้มกันหรือดื้อยา (กลับมาเร็วกว่า) • มีอาการจับไข้วันเว้นวัน • ทำให้เกิดมาลาเรียขึ้นสมอง (cerebral malaria) • เกิดภาวะแทรกซ้อนได้มาก เช่นปัสสาวะดำ น้ำตาลในเลือดต่ำ • มักเสียชีวิตจากภาวะปอดบวมและไตวาย
อาการโดยทั่วไป P. vivaxและ P. ovale • มี relapse เนื่องจาก hypnozoite ในตับ • เชื้อแบ่งตัวทุก 48 ชั่วโมง ดังนั้นอาการไข้จับสั่นจะเกิดวันเว้นวัน เรียกว่า benign tertian malaria
อาการโดยทั่วไป • ผู้ป่วยP. vivax, P. ovaleและP. malariaeมักจะไม่เสียชีวิต ยกเว้นร่างกายอ่อนแอ • P. falciparumเป็นเชื้อที่รุนแรง (malignant tertian malaria) และเกิดการเสียชีวิต เนื่องจาก เชื้อสามารถเข้าไปในเม็ดเลือดแดงได้ทุกระยะ
วงจรชีวิต • ต้องการโฮสต์ 2 ชนิด คือ คนและยุงก้นปล่องตัวเมีย (female Anopheles) • การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เกิดในเม็ดเลือดแดงและเซลล์ตับของคน • การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เกิดในกระเพาะอาหารของยุง
ระยะในคน (Human phase or asexual phase) Pre-erythrocytic stage • เริ่มจากยุงก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อระยะ sporozoite มากัดคน • Sporozoite เข้าไปอยู่ในเซลล์ตับ • มีการแบ่งตัวแบบ schizogony ในเซลล์ตับ จนถึงระยะ merozoite • Merozoite ในเซลล์ตับจะแตกออก และเข้าสู่เม็ดเลือดแดง
Human phase (ต่อ) Erythrocytic cycle • ช่วงแรกที่เข้าสู่เม็ดเลือดแดง เชื้อจะมีรูปร่างเป็น ring form และยังไม่มีการแบ่งตัว ก่อนทีจะเจริญต่อไปและเปลี่ยนรูปร่าง • ช่วงที่ยังไม่มีการแบ่งตัวเรียกว่า ระยะ trophozoite
Human phase (ต่อ) • เริ่มมีการแบ่งนิวเคลียสแบบ schizogony เป็นระยะ schizont • จำนวนนิวเคลียสสุดท้าย เป็นจำนวนเฉพาะสำหรับเชื้อแต่ละชนิด
P. falciparum • เจาะเลือดมักตรวจพบแต่ระยะ ring form และ gametocyte • ถ้ามีการติดเชื้อรุนแรงอาจพบ schizont • Ring form; มีขนาดเล็ก รูปวงแหวน และมักจะพบมีหลายตัวอาจจะมี chromatin dot 2 อัน
P. Falciparum; schizont • มี 18-24 ตัว • ขนาดของเม็ดเลือดแดงปกติ
P. Falciparum ; gametocyte • มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว
Human phase (ต่อ) • Ring form บางตัว จะไม่เจริญจนเป็น merozoite แต่จะเจริญเป็น gametocyte เพศผู้และเพศเมีย • Gametocyte ทำให้เกิดการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น
Exo-erythrocytic form (EE form) • เกิดจากการที่ระยะSporozoite ยังไม่หมดไปจากเซลล์ตับ แม้จะเข้าสู่เม็ดเลือดแดงแล้ว เรียกว่า hypnozoite • ทำให้เกิดอาการไข้กลับ (relapse) • พบเฉพาะใน P. vivaxและ P. ovale
Conclusion of human phase • Pre-erythrocytic stage • Erythrocytic stage • ช่วงที่ทำให้เกิดอาการ • ช่วงที่ทำให้เกิดการแพร่เชื้อ (gametocyte) • Exo-erythrocytic stage (เฉพาะบาง species)
Human phase Mosquito phase
ระยะในยุง (Mosquito phase or sexual cycle) • ยุงกัดผู้ป่วยที่มีระยะ gametocyte ในเม็ดเลือด • จะเกิดการผสมกันระหว่าง gametocyte เพศผู้และเพศเมียที่กระเพาะอาหารของยุง • ตัวอ่อนจะไชทะละกระเพาะอาหารออกมา แบ่งตัวเป็น sporozotie มากมาย • Sporozoite เดินทางเข้าสู่ต่อมน้ำลาย พร้อมเข้าสู่คนต่อไป
การวินิจฉัย • การซักประวัติ การเดินทางไปแหล่งที่มีการระบาด • การดูอาการ • เจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยและแยกชนิด โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ • วิธีวินิจฉัยอื่นๆ ได้แก่ การตรวจ DNA, การตรวจทางวิทยาภูมิคุ้มกัน, การตรวจทางชีวเคมี
การรักษา • การให้ยาขึ้นกับระยะของปรสิตที่พบในผู้ป่วย และชนิดของปรสิต • P. vivaxและ P. ovale ต้องให้ยาที่ทำลายระยะที่อยู่ในตับ • หากพบระยะ gametocyte ต้องให้ยาทำลายเพื่อยับยั้งการแพร่สู่ยุง • ดูลักษณะการดื้อยาของเชื้อในท้องถิ่น
ปัจจัยของยุงพาหะที่มีผลต่อการแพร่เชื้อปัจจัยของยุงพาหะที่มีผลต่อการแพร่เชื้อ • สายพันธุ์และพันธุกรรม • ความหนาแน่นของยุงพาหะ • อายุขัยของยุง • นิสัยการหากินและเกาะพักของยุง - ชอบกินเลือดคน หรือ สัตว์ - ชอบหากินในบ้านหรือนอกบ้าน - ชอบเกาะพักที่ไหน • ระยะทางในการบิน • การทนและดื้อต่อสารเคมี
การควบคุมโรค • ควบคุมยุงที่เป็นพาหะ • ลดการเพาะพันธุ์ยุง • การกำจัดลูกน้ำยุง • การกำจัดยุง • ลดการแพร่กระจายเชื้อ • ให้ยากำจัดระยะ gametocyte ในผู้ป่วย ได้แก่ primaquin • ให้ยากำจัดระยะ hypnozoite ได้แก่ primaquin
การป้องกัน • ไม่เข้าไปในแหล่งที่มีการระบาด และไม่ควรค้างคืน • ป้องกันตัวเองไม่ให้ถูกยุงกัดโดย • นอนในมุ้ง • ใช้ยาทาป้องกันยุง • สวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายให้มิดชิด • ไม่ควรออกจากบ้านพักยามพลบค่ำ • เมื่อออกจากแหล่งระบาด ถ้ามีอาการไข้ภายใน 2 เดือนควรพบแพทย์
ทายา ไล่ยุง