1 / 29

สำนักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม

การบริหารทรัพยากรบุคคล ตามระเบียบและประกาศ คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552. สำนักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม. หัวข้อการบรรยาย. แนวคิดและหลักการ แนวคิดและหลักการ โครงสร้างตำแหน่งตามระเบียบ ก.ศ. มาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะข้าราชการศาลยุติธรรม ระบบวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์

Télécharger la présentation

สำนักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารทรัพยากรบุคคลตามระเบียบและประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลตามระเบียบและประกาศคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2552 สำนักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม

  2. หัวข้อการบรรยาย • แนวคิดและหลักการ • แนวคิดและหลักการ • โครงสร้างตำแหน่งตามระเบียบ ก.ศ. • มาตรฐานกำหนดตำแหน่งและสมรรถนะข้าราชการศาลยุติธรรม • ระบบวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ • การรับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง • การเตรียมการสำหรับการเลื่อนขั้นเงินเดือนในรอบเมษายน 2553

  3. แนวคิดและหลักการ • ให้การปฏิบัติราชการของข้าราชการมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของสำนักงานศาลยุติธรรม • ให้ข้าราชการเป็นผู้มีฝีมือ เป็นมืออาชีพ และมีสมรรถนะใน การปฏิบัติราชการ • ให้ข้าราชการมีคุณธรรม ยึดถือจรรยาวิชาชีพ และวินัยโดย เคร่งครัด • ให้ข้าราชการมีคุณภาพชีวิตที่ดีสมดุลกับการทำงาน • ให้ข้าราชการได้รับการคุ้มครองความเป็นธรรมจากการปฏิบัติ ของทางราชการยิ่งขึ้น

  4. แนวคิดและหลักการ • ให้ระบบการกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือน มีความ ยืดหยุ่น สามารถปรับเงินเดือนให้สอดคล้องกับอัตราตลาด และเงินเดือนของข้าราชการประเภทอื่น ตลอดจนให้ ค่าตอบแทนตามผลงานและสะท้อนค่างานของตำแหน่งแต่ละ ประเภทอย่างแท้จริง • ให้การสรรหาคนมารับราชการและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรง ตำแหน่งที่ว่างกระทำโดยเปิดกว้าง เพื่อให้หาคนดีมีคุณค่า • ให้การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความคล่องตัว สะดวกรวดเร็ว

  5. แนวคิดและหลักการ • ให้ข้าราชการผู้ครบเกษียณอายุตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จ บำนาญข้าราชการที่มีคุณค่า ได้รับการต่อเวลารับราชการตาม กำหนดเวลาที่เหมาะสม • ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลมีองค์ประกอบและบทบาทที่ เหมาะสม สรุป ข้าราชการมีคุณภาพ คุณธรรม และคุณภาพชีวิต ที่ดี และให้ทางราชการได้ประโยชน์ยิ่งขึ้น

  6. กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทภารกิจของสำนักงานศาลยุติธรรมกับข้าราชการศาลยุติธรรมกรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทภารกิจของสำนักงานศาลยุติธรรมกับข้าราชการศาลยุติธรรม

  7. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6 กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ศาลยุติธรรม พันธกิจ เป้าหมายการปฏิบัติงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เป้าหมายการปฏิบัติงานระดับสำนัก/กอง เป้าหมายการปฏิบัติงานในแต่ละบุคคล

  8. เป้าหมายการปฏิบัติงานในแต่ละบุคคลเป้าหมายการปฏิบัติงานในแต่ละบุคคล วิสัยทัศน์ศาลยุติธรรม พันธกิจ ผู้ครองตำแหน่ง งาน ผลงาน • คุณสมบัติของผู้ครองตำแหน่ง • ความรู้ • ทักษะ • ความสามารถ • คุณลักษณะ • อื่นๆ ทำอะไร ทำเพื่ออะไร ทำอย่างไร บริหารผลงาน คัดเลือก พัฒนา

  9. วิสัยทัศน์ ศาลยุติธรรมดำรงไว้ซึ่งความเป็นธรรมภายใต้หลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนทั้งมุ่งส่งเสริมบทบาทการศาลยุติธรรมไทย ให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากลภายในปี พ.ศ. 2556 พันธกิจ 3. การสนับสนุน และพัฒนา ความร่วมมือด้านการยุติธรรม ทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อรองรับการดำเนินงานของ กระบวนการยุติธรรมไทยและ ต่างประเทศ 4. การให้บริการ ประชาชน และสังคมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนเพื่อรองรับหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. การอำนวย ความยุติธรรม 2. การสนับสนุนการ อำนวยความยุติธรรม

  10. ยุทธศาสตร์ที่ 1 รักษาความเข้มแข็งและมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ในการอำนวยความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิเสรี ภาพด้วยความเสมอภาคเพื่อประโยชน์ของประชาชน กลยุทธ์ 1 เสริมสร้างความเข้มแข็งในกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดี แต่ละประเภท ทั้งคดีแพ่ง คดีอาญา คดีคุ้มครองผู้บริโภคและ คดีสิ่งแวดล้อม ในทุกชั้นศาลเพื่ออำนวยความยุติธรรมแก่สังคม เป้าหมาย มีปริมาณคดีแล้วเสร็จไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับคดีที่ขึ้นสู่ศาล

  11. เป้าหมายศาลแพ่งธนบุรีเป้าหมายศาลแพ่งธนบุรี มีคดีแล้วเสร็จร้อยละ 80 เมื่อเทียบกับคดีที่ขึ้นสู่ศาล (ปี 2552 คดีที่ขึ้นสู่ศาล 5,516 คดี คดีแล้วเสร็จ 4,297 คดี คิดเป็นร้อยละ 77.9) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ม.ค. 52 – 30 พ.ย. 52 ขรก. + พนง.ราชการ + ลูกจ้าง ปฏิบัติงานสนับสนุนการพิจารณาคดี 1. งานตามนโยบายหรือยุทธศาสตร์ 2. งานประจำตามหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ 4. งานริเริ่มและพัฒนา

  12. แนวคิดและหลักการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 วางหลักการไว้ว่า “การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า โดยให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี”

  13. สาระสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนสาระสำคัญในการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน • วางหลักการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน • กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ • วางมาตรฐานการพิทักษ์ระบบคุณธรรม • ปรับปรุงองค์ประกอบและบทบาทของ ก.พ. • ปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่ง • ปรับปรุงระบบค่าตอบแทน • ปรับปรุงระบบจรรยาและวินัย • ปรับปรุงระบบการอุทธรณ์และการร้องทุกข์ • ปรับปรุงระบบเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน • ยกเลิกข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ

  14. การกระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐการกระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ โครงสร้างอำนาจ กระจายอำนาจ เพิ่ม มอบอำนาจ • การกำหนดตำแหน่งจาก ก.พ. ให้ อ.ก.พ.กระทรวง (ม.๔๗) • การบรรจุบุคคลซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญงานสูง จาก ก.พ. ให้กรม (ม.๕๗) • การบรรจุกลับจาก ก.พ. ให้กรม (ม.๖๕) • การตรวจสอบการดำเนินการทางวินัยจาก ก.พ. ให้ อ.ก.พ.กระทรวง ยกเว้นกรณีความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงหรือความผิดทางวินัยของปลัดกระทรวง อธิบดี หรือเทียบเท่า และผู้ทรงคุณวุฒิ (ม.๙๗) • บทลงโทษกรณีส่วนราชการไม่ปฏิบัติตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กำหนด โดยไม่มีเหตุผลสมควร (ม.๙) • ก.พ. อาจมอบอำนาจการจัดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการให้ส่วนราชการ (ม.๕๓)

  15. การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรมการวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม จัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ทำหน้าที่เป็นองค์กรกึ่งตุลาการ อิสระจากฝ่ายบริหาร มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาด ตามอำนาจหน้าที่ (มาตรา 42) และสั่งการให้หัวหน้าส่วนราชการปฏิบัติได้โดยไม่ต้องเสนอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการ 15

  16. กรรมการโดย ตำแหน่ง 5 คน 1 2 กรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ 5-7 คน การปรับปรุงองค์ประกอบและบทบาทของ ก.พ. • กรรมการจาก 3 เหลือ 2 ประเภท (ม.6) • กรรมการโดยตำแหน่ง 5 คน • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5-7 คน จาก 3 เหลือ 2 ประเภท 16 16

  17. การปรับปรุงองค์ประกอบและบทบาทของ ก.พ. (ต่อ) เป็นผู้เสนอแนะนโยบาย เป็นที่ปรึกษา เปลี่ยน บทบาท (ม.๘) เป็นผู้ออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เป็นผู้กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหาร “คน” ของ ส่วนราชการ 17 17

  18. การปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่งการปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน 2535 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551 • จำแนกเป็น 11 ระดับตามมาตรฐาน • กลาง (Common Level) • กำหนดสายงานจำนวนกว่า 400 สายงาน • เน้นความชำนาญเฉพาะของสายอาชีพ • (Specialization) • บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ขั้น” • การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของ ก.พ. • จัดกลุ่มประเภทตำแหน่ง • ตามลักษณะงานเป็น 4 กลุ่ม • เน้นความสามารถของบุคคล • แนวคิด “บริหารผลงาน” • (Performance Management) • บัญชีเงินเดือนแยกตามประเภท • ตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ช่วง” • การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของ • กระทรวง (โดย อ.ก.พ.ฯ กระทรวง) 18

  19. การปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่ง (ต่อ) ข้อดี ยกเลิกระดับมาตรฐาน กลางที่ใช้ตั้งแต่ ๒๕๑๘ • ไม่ยึดติดกับซี” • กำหนดอัตราเงินเดือนของตำแหน่งแต่ละประเภทและแต่ละระดับให้ต่างกันได้ตามค่างานและอัตราตลาด ระบบการ กำหนด ตำแหน่ง แบ่งตำแหน่งออกเป็น ๔ ประเภท แต่ละประเภท มีจำนวนระดับของตน กระจายอำนาจกำหนดจำนวนตำแหน่งให้ อ.ก.พ.กระทรวง

  20. เพิ่มความคล่องตัวในการปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับ ค่างานและอัตราตลาด เพิ่มความยืดหยุ่นในการให้ค่าตอบแทนตามผลงาน ระบบรองรับ • จากเงินเดือนบัญชีเดียวเป็น ๔ บัญชี • มีเงินเพิ่มใหม่อีก ๒ ประเภท คือ ตามพื้นที่และตามสายงาน • ก.พ. อาจกำหนดเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูงของสายงานที่อยู่ในประเภทเดียวกันให้ต่างกันได้ • ก.พ. อาจกำหนดให้เงินเดือนแรกบรรจุของวุฒิเดียวกันให้ต่างกันได้ • การประเมินผลงานและบริหารผลงาน • การกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน • การประเมินสมรรถนะ • นำโครงสร้างบัญชีเงินเดือนแบบ “ช่วง” มาใช้แทนแบบ “ขั้น” การปรับปรุงระบบค่าตอบแทน 20 20

  21. การปรับปรุงระบบจรรยาและวินัยการปรับปรุงระบบจรรยาและวินัย แยกจรรยาออกเป็นหมวดหนึ่งต่างหาก โดยไม่รวมไว้ในหมวดวินัย โดยมีแนวคิดว่า “จรรยาบรรณเป็นข้อที่พึงปฏิบัติด้วยจิตสำนึก ไม่ใช่ข้อที่ต้องปฏิบัติด้วยการกระทำหรือไม่กระทำตามการบังคับอย่างวินัย 21

  22. การปรับปรุงระบบการอุทธรณ์และการร้องทุกข์การปรับปรุงระบบการอุทธรณ์และการร้องทุกข์ • การอุทธรณ์ ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ พิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) และให้ ก.พ.ค. เป็นผู้พิจารณาและวินิจฉัยสั่งการได้โดยไม่ต้องเสนอให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้สั่งการ • การร้องทุกข์ กรณีเหตุเกิดจากปลัดกระทรวง รัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรี ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. หากเหตุร้องทุกข์เกิดจากผู้บังคับบัญชาอื่นให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 22

  23. เงื่อนไข ราชการมีความจำเป็น ตำแหน่ง • สายงานขาดแคลน • (จำนวนหรือคุณภาพ) • วิชาการ (ระดับเชี่ยวชาญ • ระดับทรงคุณวุฒิ) • ทั่วไป (ระดับอาวุโส • ระดับทักษะพิเศษ) คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์ได้รับพิจารณา • มีความรู้หรือทักษะ • มีสมรรถนะ • มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ • อื่นๆ เช่น สุขภาพ การปรับปรุงระบบเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน เป็นมาตรการหนึ่งในการแก้ปัญหาโครงสร้างอายุ ระยะเวลาต่อสูงสุด ๑๐ ปี 23 23

  24. การยกเลิกข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษการยกเลิกข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ไม่มีข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ เนื่องจากงานทางด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นงานที่ต้องใช้วิชาการและประสบการณ์เฉพาะทาง จึงควรใช้ข้าราชการประจำที่เป็นมืออาชีพ ไม่ควรแต่งตั้งจากบุคคลภายนอกด้วยเหตุผลทางการเมือง 24

  25. การปรับปรุงระบบตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรมการปรับปรุงระบบตำแหน่งของสำนักงานศาลยุติธรรม

  26. ข้อกฎหมายของสำนักงานศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลข้อกฎหมายของสำนักงานศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 - มาตรา 24 การกำหนดตำแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง และเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่ง... ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน...มาใช้บังคับโดยอนุโลม... ฯลฯ - มาตรา 25 อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจำตำแหน่ง และ การให้ได้รับเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการศาลยุติธรรม ให้นำกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งมา ใช้บังคับโดยอนุโลม ... ฯลฯ

  27. มติคณะกรรมการ ก.ศ. และ ก.บ.ศ. • คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมได้มีมติในการ ประชุมครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2551 • คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในการประชุมครั้งที่ 7/2551 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2551 • เห็นชอบในหลักการให้นำพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาปรับใช้กับข้าราชการ ศาลยุติธรรมภายหลังสำนักงาน ก.พ. จัดทำระบบตำแหน่งและค่าตอบแทนแล้วเสร็จและประกาศใช้ • เห็นชอบให้นำพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน • พ.ศ. 2551 มาปรับใช้กับข้าราชการศาลยุติธรรมในวันที่ 1 ธันวาคม 2552 และเห็นชอบร่างระเบียบและประกาศ 3 ฉบับ

  28. มติคณะกรรมการ ก.ศ. และ ก.บ.ศ. • คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมได้มีมติในการ ประชุมครั้งที่ 6/2552 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552 • คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในการประชุมครั้งที่ 9/2552 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2552 • เห็นชอบให้นำพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน • พ.ศ. 2551 มาปรับใช้กับข้าราชการศาลยุติธรรมในวันที่ 1 ธันวาคม 2552 และเห็นชอบร่างระเบียบและประกาศ 3 ฉบับ

  29. มติคณะกรรมการ ก.ศ. และ ก.บ.ศ. • วันที่ 8 กันยายน 2552 ท่านประธาน ก.ศ. ลงนามใน ประกาศและระเบียบ 3 ฉบับ • วันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 ประกาศและระเบียบ 3 ฉบับ ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา • วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552 ประธานศาลฎีกาได้โปรด เห็นชอบบัญชีจัดตำแหน่งข้าราชการศาลยุติธรรมตาม ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการ จัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งของข้าราชการศาล ยุติธรรม พ.ศ. 2552 ตามที่ ก.ศ. กำหนด • เห็นชอบให้นำพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน • พ.ศ. 2551 มาปรับใช้กับข้าราชการศาลยุติธรรมในวันที่ 1 ธันวาคม 2552 และเห็นชอบร่างระเบียบและประกาศ 3 ฉบับ

More Related