1 / 16

๒. คณะทำงานประสานผลการคัดเลือก ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

๑. คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ. ๒. คณะทำงานประสานผลการคัดเลือก ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ. ๓. คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ. 3.Transparent expert judgment. ๑. คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ. ๒. คณะทำงานประสานผลการคัดเลือกยา ในบัญชียาหลักแห่งชาติ. เลือก.

gates
Télécharger la présentation

๒. คณะทำงานประสานผลการคัดเลือก ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๑.คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ๑.คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ๒.คณะทำงานประสานผลการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ๓.คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ 3.Transparent expert judgment

  2. ๑.คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ๑.คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ๒.คณะทำงานประสานผลการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ เลือก ให้ความเห็นที่ ๒ ๓.คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ตัดสิน 3.Transparent expert judgment

  3. พญ.วันดี โภคะกุล พญ.ศศิประภา บุญญพิสิฏฐ์ ทพ.ดร.วัฒนา คนธิคามี พญ.นลินี อัศวโภคี พญ.ฉวีวรรณ บุนนาค พญ.ไธวดี ดุลยจินดา นพ.พงษ์ศักดิ์ วัฒนา พญ.สมใจ หวังศุภชาติ นพ.เกรียง ตั้งสง่า นพ.ไพโรจน์ สินลารัตน์ นพ.สุชาติ ชาญไชยพิบูลย์กุล พญ.เพลินจิตต์ ศิริวันสาณฑ์ นพ.ประมวล วีรุตมเสน พญ.พิมลพรรณ กฤติยารังสรรค์ นพ.ศุภชัย รัตนมณีฉัตร คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ(15 สาขา 262 ท่าน)

  4. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์) ประธาน รองเลขาธิการ (ภก.สุบุญญา หุตังคบดี) นพ.ประมวล วีรุตมเสน นพ.อมร ลีลารัศมี นพ.เกรียง ตั้งสง่า นพ.ปิยะ เนตรวิเชียร พญ.สยมพร ศิรินาวิน พญ.วิภาดา เชาวกุล ภญ.ดร.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ ภญ.อรวรรณ เกตุเจริญ ภญ.ดร.ยุพิน ลาวัณย์ประเสริฐ ผู้อำนวยการกองควบคุมยา ประธานคณะทำงานคัดเลือกยา ในบัญชียาหลักแห่งชาติ 15 สาขา หรือผู้แทน ๒.คณะทำงานประสานผลการพิจารณายาในบัญชียาหลักแห่งชาติ(18 ท่าน)

  5. นพ.จรัส สุวรรณเวลา ประธาน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนเลขาธิการสภาเภสัชกรรม ผู้แทนเลขาธิการแพทยสภา ผู้อำนวยการกองควบคุมยา นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล นพ.สมิง เก่าเจริญ นพ.วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร นพ.กอบชัย พัววิไล นพ.กำแหง จาตุรจินดา ภญ.สำลี ใจดี ภก.ศิริศักดิ์ ธานี ภก.กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ คุณหญิงทิพาพร สิตปรีชา ๓.คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ(43 ท่าน)

  6. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ผู้แทนสำนักงบประมาณ นายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นายกแพทยสภา นายกสภาเภสัชกรรม คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๔. คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา (31 ท่าน)

  7. กระบวนการจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติกระบวนการคัดเลือกยาที่รัดกุมโปร่งใส ถูกต้อง • กระบวนการยังต้องมีความโปร่งใสและเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ (transparent system) • คณะผู้จัดทำจำเป็นต้องแสดงตนว่าไม่มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงหรือโดยอ้อมกับธุรกิจหรืออุตสาหกรรมยา (conflict of interest)

  8. กระบวนการจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติกระบวนการคัดเลือกยาที่รัดกุมโปร่งใส ถูกต้อง ใช้หลักฐานที่ปราศจากความลำเอียง (objective หรือ non-judgmental information) มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ • ระบบการให้คะแนนที่มีประสิทธิผล (effective scoring system) • หลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิชาการ (evidence-based literature) เป็นหลักในการคัดเลือก

  9. ISafE คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของยา Information (การวิจัย) x Safety (ความปลอดภัย) x Compliance (ความยอมรับของผู้ป่วย)x Efficacy (ประสิทธิผล) ใช้คัดเลือกยาเข้าหรือออกจากบัญชี 

  10. จึงมั่นใจได้ว่ายาในบัญชียาหลักแห่งชาติเป็นยาที่มีคุณภาพผ่านเกณฑ์แล้วทั้งสิ้น ยาที่ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ เช่นยาที่ไม่มีหลักฐานสนับสนุนประสิทธิภาพอย่างเพียงพอจะไม่ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอนนี้

  11. ดัชนีราคา = ราคายา คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของยา EMCI ใช้แบ่งกลุ่มยาเป็นบัญชีย่อย

  12. การจัดทำบัญชียา ให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ต้นทุนสูงสุด (maximization of cost-effectiveness) โดยขจัดยาที่มีราคาแพงออกจากบัญชีหากไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ายาราคาแพงเหล่านั้นช่วยเพิ่มคุณภาพการรักษาพยาบาล

  13. ประโยชน์ของบัญชียาหลักแห่งชาติประโยชน์ของบัญชียาหลักแห่งชาติ เกิดประโยชน์หลายประการทั้ง • ต่อผู้ป่วย • ต่อผู้สั่งใช้ยา • ต่อระบบบริหารเวชภัณฑ์ • ต่อผู้บริหารสถานพยาบาล • ต่อระบบการเบิกจ่าย • ต่อระบบเศรษฐกิจของชาติ

  14. GMP เฝ้าระวังคุณภาพยา ดำเนินการตามกฎหมาย นำยาที่ไม่ได้คุณภาพออกจากท้องตลาด แก้ไขปัญหายาที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ความมั่นใจต่อคุณภาพยา ในบัญชียาหลักแห่งชาติ

More Related