1 / 26

นายทวีศักดิ์ ทองบู่ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข

การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER RISK HOUSE INDEX IN REGIONS 17 USING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM. นายทวีศักดิ์ ทองบู่

geordi
Télécharger la présentation

นายทวีศักดิ์ ทองบู่ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER RISK HOUSE INDEX IN REGIONS 17 USING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM นายทวีศักดิ์ ทองบู่ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

  2. อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553

  3. อัตราตายไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553

  4. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 (ม.ค.2550 – พ.ค.2554)

  5. ความเป็นมาของปัญหา GIS เพื่อสนับสนุนการบริหารและตัดสินใจ

  6. ความเป็นมาของปัญหา 􀃠เปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศให้มองเห็นเป็นภาพแผนที่ได้ 􀃠การจำแนกปัญหาด้วยมุมมองใหม่ๆ 􀃠การทดลองสร้างแบบจำลอง 􀃠หลีกเลี่ยงความผิดพลาดของข้อมูล 􀃠หลีกเลี่ยงการตั้งสมมุติฐานผิด ๆ

  7. โจทย์การวิจัย การใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ในเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคไข้เลือดออก แต่ยังไม่แน่ชัด

  8. จุดมุ่งหมายของงานวิจัยจุดมุ่งหมายของงานวิจัย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (House Index :HI)

  9. กรอบแนวคิด ดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551-2553 พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน)โรคไข้เลือดออก ปี 2554 GIS (Spatial Analysis)

  10. นอกเขต วิธีการ ชุมชนแออัด รง.506 คัดเลือกหมู่บ้านที่ดำเนินการสุ่มสำรวจ ในเขตเทศบาล ชุมชนที่พักอาศัย มีค.,พค.,กค. ชุมชนพาณิชน์ ดำเนินการสำรวจ Visual larva survey (WHO) การแปลผลการสำรวจ (HI) -HI > 10 เสี่ยงสูง -HI ≤ 10 เสี่ยงต่ำ วิเคราะห์ทางสถิติโดย - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย • วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) • Interpolation : (IDW) • - Overlay Program GIS พื้นที่เสี่ยง (หมู่บ้าน) โรคไข้เลือดออกจากค่า HI

  11. Inverse Distance Weighted Interpolation (IDW) Known point 50 Known point 30 โดย Zi เป็นค่าของจุดที่ทราบค่า dij เป็นระยะทางจากจุดที่ทราบค่า Zj เป็นจุดที่ไม่ทราบค่า n เป็นเลขยกกำลังที่ผู้ใช้เลือก (1, 2 หรือ 3) d1=4 d1=2 Interpolated point d1=6 = 34 52 Known point

  12. วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) แผนที่(point) การแปลผลการสำรวจ Interpolation : (IDW) HI 52 HI 53 HI 51 Overlay Analysis (HI) Risk area Overlay Analysis Village

  13. ผลการศึกษา

  14. .≤10.00 > 10.00 จุดหมู่บ้านที่สำรวจและผลของค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553

  15. .≤10.00 > 10.00 ค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 51 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 51 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 52 หมู่บ้านที่สุ่มสำรวจ HI ปี 53 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 52 การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากค่า HI ปี 53 = เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง

  16. พื้นที่เสี่ยงจากค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง

  17. Overlay Analysis

  18. พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (2554) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

  19. ตารางแสดงพื้นที่เสี่ยงไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายปี 2554

  20. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์รายหมู่บ้านตัวอย่างผลการวิเคราะห์รายหมู่บ้าน

  21. ความแม่นยำในการวิเคราะห์ความแม่นยำในการวิเคราะห์

  22. ข้อเสนอแนะและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ข้อเสนอแนะและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ • การคาดคะเนการระบาด จุดกำเนิดหรือจุดแพร่กระจายของโรค • การนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและการทำนายแนวโน้ม (Trend) การเกิดโรคไข้เลือดออก • ผู้บริหารสามารถตัดสินใน วางแผนการดำเนินได้ทันเวลา และใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม • การพัฒนาการใช้ GIS เพื่อช่วยเหลือในการวิเคราะห์ การทำให้เห็นภาพ (Visualization) การจัดการและการพัฒนานโยบาย

  23. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป * การติดตามความแม่นยำในการวิเคราะห์ระยะยาว * การนำปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยง เช่น > ปริมาณน้ำฝน > ความหนาแน่นของประชากร > พฤติกรรม > อุณหภูมิ > จำนวนผู้ป่วย ฯลฯ

  24. Thank You

  25. ความสัมพันธ์ชิงเส้น ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553

  26. การแปลค่าดัชนีทางกีฏวิทยาการแปลค่าดัชนีทางกีฏวิทยา Pant and Self (WHO,1993)ได้ให้แนวทางเกี่ยวกับการ แปลงค่าดัชนียุงลายและลูกน้ำยุงลาย ดังนี้ BI>50 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค BI<5 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โรค HI>10 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค HI<1 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โลก จิติและคณะ (2536) BI > 100 เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์ไข้เลือดออก BI < 50 เป็นพื้นที่ไม่มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก

More Related