1 / 18

ตัวชี้วัดที่ 14

ตัวชี้วัดที่ 14. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี). Public Management Quality Award. ( PMQA). ขั้นตอนตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด. 1. การเข้าประชุมอบรม ที่ กพร. จัดที่ กทม. (เดือนพฤษภาคม 2549).

gerd
Télécharger la présentation

ตัวชี้วัดที่ 14

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี) Public Management Quality Award (PMQA)

  2. ขั้นตอนตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด 1. การเข้าประชุมอบรม ที่ กพร. จัดที่ กทม. (เดือนพฤษภาคม 2549) 2. การประชุมชี้แจงขยายผลผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ(1 มิถุนายน 2549) 3. ประเมินลักษณะสำคัญขององค์กร 15 ข้อ 4. การประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ หมวด 1 - 6 รวมทั้งหมวดที่ 7 (ผลลัพธ์) 90 ข้อ 5. การประเมินจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง( Opportunity for Improvement = OFI ) 6. การเสนอแผนปรับปรุงและเลือกแผนที่จะปรับปรุงเร่งด่วน 7. การนำเสนอต่อ Steering Committee (22 ก.ย.49)

  3. PMQAคือ การประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ พร้อมกับการทราบจุดอ่อน และการหาโอกาสในการปรับปรุงองค์กร (OFI) เพื่อจัดทำแผนการปรับปรุง โดยจะเลือกการจัดทำแผนปรับปรุงตามลำดับความสำคัญและเร่งด่วน

  4. การประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมินตนเองตามเกณฑ์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. ลักษณะสำคัญขององค์กร มีเกณฑ์คำถาม 15 ข้อ โดยเป็นการอธิบายลักษณะภารกิจ บทบาทตามกฎหมาย รวมทั้งทิศทางของหน่วยงานที่จัดทำ 6 หน่วยงานหลัก คือ 1.1 ที่ทำการปกครองอำเภอ 1.2 สำนักงานเกษตรอำเภอ 1.3 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 1.4 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1.5 ที่ทำการสัสดีอำเภอ 1.6 สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ

  5. 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีเกณฑ์คำถาม 90 ข้อ โดยแบ่งเป็น 6 หมวด และผลลัพธ์การดำเนินการ ดังนี้ 2.1 หมวด 1 การนำองค์กร จะเป็นคำถามที่เกี่ยวกับ - การกำหนดทิศทาง (วิสัยทัศน์ พันธกิจ) - การกำกับดูแลตนเอง (การตรวจสอบ) - การทบทวน/ ตรวจสอบ (การรายงาน, สื่อ/ช่องทางการ ตรวจสอบ - ความรับผิดชอบในการดำเนินกิจการของหน่วยงาน

  6. 2.2 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การทำยุทธศาสตร์ (การมีส่วนร่วม, การเผยแพร่, การนำไปปฏิบัติ) - การจัดทำแผนปฏิบัติ (กิจกรรม/โครงการ, การรายงาน, ความถี่การรายงาน 2.3 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย - กำหนดขอบเขตคำว่าผู้รับบริการ - ช่องทาง/ สื่อ ในการรับข้อมูลจากผู้รับบริการ - การวัดความพึงพอใจ - การนำเสนอปัญหาอุปสรรค เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  7. 2.4 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ - การเลือกข้อมูลและสารสนเทศของส่วนราชการเพื่อการนำไปวิเคราะห์ ในการวางแผนการทำงาน - การวิเคราะห์ผลการดำเนินการที่เปรียบกับตัวชี้วัดและความสำเร็จ รวมทั้งการใช้จ่ายงบประมาณ และความพึงพอใจ - การจัดการความรู้ด้านสารสนเทศ การส่งเสริมการถ่ายทอดความรู้รวมทั้งการแสวงหาความรู้เทคนิคใหม่ ๆ

  8. 2.5 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล - การจัดโครงสร้างในการบริหารงานบุคคล - ระบบการสื่อสารในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (เช่น ประชุม อบรม) - ระบบการประเมินผลงาน - การที่บุคลากรทราบทิศทางความก้าวหน้า การพัฒนาบุคลากร การสร้างแรงจูงใจ และสวัสดิการต่าง ๆ

  9. 2.6 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ - กระบวนการที่สร้างคุณค่า คืองานที่เป็นประโยชน์และส่งผลต่อความรับผิดชอบ / การให้บริการประชาชน / ตอบสนองตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ซึ่งมีทั้งหมด 12 กระบวนงาน - กระบวนการสนับสนุน เป็นกระบวนงานที่ช่วยกระบวน การสร้างคุณค่า ได้แก่ กิจกรรม/โครงการที่เป็นตัวสนับสนุน เช่น งานการเงิน, การตรวจสอบ

  10. 2.7 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ - ใช้หลัก BSC คือ มิติด้านประสิทธิผล, มิติคุณภาพ มิติประสิทธิภาพ และมิติการพัฒนาองค์กร - โดยยึดคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดกับอำเภอ

  11. ผลการประเมินจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง OFI และแผนปรับปรุง 1. หมวดที่ 1 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 3 รายการ คือ 1.1 แผนการพัฒนาวิสัยทัศน์ 1.2 แผนการพัฒนาการกำกับดูแลตนเองที่ดี 1.3 แผนการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม 2. หมวดที่ 2 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 2 รายการ คือ 2.1 แผนการจัดทำยุทธศาสตร์อำเภอ 2.2 แผนการทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดของอำเภอ

  12. 3. หมวดที่ 3 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 4 รายการ คือ 3.1 แผนการทบทวนวิธีการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวัง 3.2 แผนการทบทวนวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า/ผู้มีส่วนได้เสีย 3.3 แผนการจัดทำระบบในการติดตามข้อมูลป้อนกลับ 3.4 แผนการจัดหาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้รับบริการ

  13. 4. หมวดที่ 4 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 3 รายการ คือ 4.1 แผนทบทวนวิธีการเลือกและรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 4.2 แผนการจัดการข้อมูลสารสนเทศ 4.3 แผนการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร 5. หมวดที่ 5 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 4 รายการ คือ 5.1 แผนการประเมินผลการอบรมบุคลากร 5.2 แผนเสริมสร้างด้านสวัสดิการ 5.3 แผนเสริมสร้างความผาสุก 5.4 แผนปรับปรุงระบบการประเมินความพึงพอใจ *** สำหรับหมวดที่ 6 – 7 ไม่มี OFI ***

  14. ผลการเลือกและจัดลำดับแผน เพื่อปรับปรุง 1. แผนการพัฒนาวิสัยทัศน์อำเภอ 2. แผนการจัดทำยุทธศาสตร์อำเภอ 3. แผนการจัดทำระบบในการติดตามข้อมูลป้อนกลับอย่างทันท่วงที 4. แผนการทบทวนวิธีการเลือกและรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 5. แผนเสริมสร้างด้านสวัสดิการ 6. แผนเสริมสร้างความผาสุก 7. แผนปรับปรุงการประเมินความพึงพอใจ

  15. สรุปการจัดทำ (PMQA) 1. มีการระดมความคิดร่วมกันของทีมงาน 2. ได้มีการสร้างองค์ความรู้ในระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการ 3. ได้มีโอกาสรับรู้จุดอ่อนและข้อที่ต้องปรับปรุงตนเอง 4. ได้เสริมสร้างวุฒิภาวะแห่งการเรียนรู้อย่างมีระบบและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพมากขึ้น 5. ได้มีการจัดทำเอกสารมีผลการประเมินตนเองที่ใช้อ้างอิงทางวิชาการและการนำแผนไปปรับปรุงการทำงานพัฒนาคุณภาพในโอกาสต่อไป

  16. ปัญหาอุปสรรคของ PMQAในหน่วยงานระดับอำเภอ 1. การกำหนดหลายหน่วยงานมีความแตกต่างกันในหลายหมวด 2. การใช้ศัพท์วิชาการทางการประเมินตามเกณฑ์เข้าใจค่อนข้างยาก 3………………………………….. 4………………………………….. 5………………………………….. ฯลฯ

  17. ขอขอบคุณ ทุกท่านที่ให้เกียรติรับฟัง สวัสดีครับ

  18. ก้าวต่อไป...การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จ.ลพบุรี 29 ก.ย.49 เวลา 13.00-16.30 น. ห้องฯ ทานตะวัน ชี้แจงแนวทาง มอบภารกิจ 25-26 ต.ค.49 เวลา 8.30-16.30 น.ศูนย์ประชุมฯ Work Shop ลักษณะสำคัญ Work Shop หมวด 1 – หมวด 6

More Related