1 / 39

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖. 1. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖. ปรับปรุงรูปแบบการจ้างงาน เพื่อให้เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสอดคล้องกับนโยบายการแก้ไขปัญหาความขาดแคลน

gerodi
Télécharger la présentation

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖ 1

  2. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖ • ปรับปรุงรูปแบบการจ้างงาน เพื่อให้เกิดความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ • และประสิทธิผลสอดคล้องกับนโยบายการแก้ไขปัญหาความขาดแคลน • กำลังคนที่เป็นภารกิจสำหรับการปฏิบัติงานของ กระทรวงสาธารณสุข • - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ลงนามเมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๖ 2

  3. คำนิยาม คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (กพส.) • หน่วยบริการ • - หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข • ว่าด้วยเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีรายรับจากการผลิต ศึกษา ฝึกอบรม • และการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข 3

  4. เงินรายได้ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเงินรายได้ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • เงินบำรุงตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเงินบำรุง • ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือ • -เงินรายรับอื่นที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด พนักงานกระทรวงสาธารณสุข บุคคลซึ่งได้รับการจ้างและได้รับเงินค่าจ้างจากเงินรายได้ ของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามระเบียบนี้ 4

  5. หมวด ๑ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข มี ๒ ประเภท ๑. ประเภททั่วไป ๒. ประเภทพิเศษ 5

  6. กลุ่มตำแหน่ง มี ๓ กลุ่มตามลักษณะงาน ๒ .วิชาชีพเฉพาะหรือกลุ่มที่ต้องปฏิบัติภายใต้ พ.ร.บ.วิชาชีพ ๑. เทคนิค บริการ บริหารงานทั่วไป ๓. เชี่ยวชาญ 6

  7. พกส. ต้องมีคุณสมบัติ มีสัญชาติไทย (ยกเว้น พกส. ชาวต่างประเทศ) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี 7

  8. พกส. ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง/กรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพ/ไร้ความสามารถ/จิตฟั่นเฟือน 8

  9. พกส. ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม(ต่อ) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เพราะกระทำความผิดทางอาญา ไม่เป็นข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงาน ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ/ราชการส่วนท้องถิ่น ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก/ปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ 9

  10. หมวด ๒ คณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข องค์ประกอบคณะกรรมการ การดำรงตำแหน่ง อำนาจหน้าที่ ของคณะกรรมการ 10

  11. องค์ประกอบคณะกรรมการ • กรรมการโดยตำแหน่ง • - ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน • รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมายเป็นรองประธาน • อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรม เป็นกรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านบริหารงานบุคคลระดับกระทรวง เป็นกรรมการและเลขานุการ 11

  12. องค์ประกอบคณะกรรมการ กรรมการที่เป็นผู้แทนที่ปลัดกระทรวงฯ แต่งตั้ง จำนวน ๗ ท่าน -ผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหาร ด้านกฎหมาย และด้านยุทธศาสตร์ - ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป - พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 12

  13. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ๑. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการจ้าง การสรรหา และเลือกสรรรวมทั้งแบบสัญญาจ้าง ๒. กำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่ม ๓. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลัง ๔. กำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ต่างๆ ๕. กำหนดรูปแบบสัญญาจ้าง 13

  14. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ(ต่อ)อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ(ต่อ) ๖. กำหนดแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน ๗. วิเคราะห์ วินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบนี้ โดยสามารถมอบอำนาจให้คณะอนุกรรมการดำเนินการ ต่อไปได้ตามความเหมาะสม ๘. แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อทำการใดแทนได้ ๙. อำนาจหน้าที่อื่นๆที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ 14

  15. วาระการดำรงตำแหน่ง คณะกรรมการที่มาจากการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งคราวละ ๒ ปี ถ้าพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ไม่เกิน ๑ วาระ การพ้นจากตำแหน่ง ๑. ตามวาระ ๒. ตาย ๓. ลาออก ๔. ประธานคณะกรรมการให้ออก โดยมีมติให้ออกด้วยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด 15

  16. หมวด ๓ ระบบการจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ให้ส่วนราชการเป็นผู้ว่าจ้าง ทำสัญญาจ้าง/คำสั่งปฏิบัติงาน การย้ายไปปฏิบัติงานในหน่วยบริการอื่น(กรมเดียวกัน) โดยได้รับความยินยอมของส่วนราชการคู่สัญญา ให้ถือว่าสัญญาจ้างเดิมยังมีผลใช้บังคับ ตำแหน่งและลักษณะงานเช่นเดียวกับข้าราชการ อาจแต่งตั้งเป็นผู้บังคับบัญชา หรือทำหน้าที่ทำนองเดียวกันเหมือนข้าราชการ 16

  17. หมวด ๔ ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ ค่าจ้าง ๑. ให้นำบัญชีเงินเดือนข้าราชการ (ว 20/55) หรือบัญชีค่าจ้างลูกจ้างประจำ (ว 31/55) มาใช้กำหนดเป็นบัญชีค่าจ้าง พกส. ๒. การเพิ่มค่าจ้างและหรือค่าตอบแทนกรณีค่าจ้าง เต็มอัตรา ตามผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในวันที่ ๑ ตุลาคม 17

  18. บัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขฯบัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขฯ 18

  19. บัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุขบัญชีอัตราค่าจ้างสำหรับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ข 19

  20. หมายเหตุ 1. สายวิชาชีพ* ประกอบด้วยตำแหน่งซึ่งเป็นวุฒิที่ ก.พ. อนุมัติให้คัดเลือกบรรจุเท่านั้น 2. กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ และสายงานวิชาชีพ อัตราค่าจ้างตามบัญชีนี้เป็นอัตราที่กำหนด ๑.2 เท่าไว้แล้ว 3. **สำหรับลูกจ้างชั่วคราวรายเดิมที่มีประสบการณ์ตามตำแหน่งที่มีลักษณะงานหรือหน้าที่ความรับผิดชอบที่สอดคล้องเหมือนกับตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ที่ได้รับการจ้างงาน ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2556 ข้อ 30 4. **กรณีสำหรับการปรับค่าจ้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อทุกประสบการณ์ 2 ปี แต่สูงสุดไม่เกิน 5 ช่วง (๑0 ปี) เฉพาะลูกจ้างชั่วคราวรายเดิมตำแหน่งปัจจุบันที่จะประเมินเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 20

  21. 21

  22. 22

  23. ตัวอย่างการจ้างลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน (เงินบำรุง) รายเดิม เป็น พนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรณีที่ 1 กลุ่มบริการ ลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งพนักงานช่วยเหลือคนไข้ - มีวุฒิ ม.6 - จ้างงานตั้งแต่วันที่ 18 มิ.ย.44 - ปัจจุบันได้รับค่าจ้าง 7,734 บาท 23

  24. เมื่อจ้างเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตำแหน่งพนักงานช่วยเหลือคนไข้ จะได้รับค่าจ้าง ดังนี้ 1. ค่าจ้างตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง + คุณวุฒิที่จ้าง ม.3 หรือ ม.6 หรือเทียบเท่า 7,590 บาท 2. ระยะเวลาการจ้างงาน 18 มิ.ย.44 - 30 ก.ย.56 = 12 ปี 3 เดือน ค่าประสบการณ์ 10 ปี 5 ช่วง ๆ ละ 5% = 25% ได้รับการปรับค่าจ้าง = 7,590 x 25% = 1,897.50 = 1,900 รวมค่าจ้างที่จะได้รับ = 7,590 +1,900 = 9,490 บาท 24

  25. กรณีที่ 2 กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ ลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ - ได้รับวุฒิปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต เมื่อวันที่ 7 มี.ค.53 - ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง เมื่อวันที่ 21 มี.ค.53 - จ้างงานตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.53 - ปัจจุบันได้รับค่าจ้าง 14,525 บาท 25

  26. เมื่อจ้างเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ จะได้รับค่าจ้าง ดังนี้ 1. ค่าจ้างตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง + คุณวุฒิที่จ้าง ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี (กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ) 15,960 บาท 2. ระยะเวลาการจ้างงาน 1 พ.ค.53 - 30 ก.ย.56 = 3 ปี 6 เดือน ค่าประสบการณ์ 3 ปี 1 ช่วง ๆ ละ 5% = 5% ได้รับการปรับค่าจ้าง = 15,960 x 5% = 798 = 800 รวมค่าจ้างที่จะได้รับ = 15,960 + 800 = 16,760บาท 26

  27. หมวด ๔ ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ (ต่อ) • มีสิทธิได้รับเงินเพิ่ม • - สำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ • -พื้นที่ทุรกันดาร • - พื้นที่พิเศษและขาดแคลนอัตรากำลังคน 27

  28. สิทธิประโยชน์ • - การลาประเภทต่างๆ • - การได้รับค่าจ้างในระหว่างลา • การได้รับค่าตอบแทนจากการปฏิบัติงานนอกเวลางาน • - ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง • - ค่าเบี้ยประชุม • - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • - สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม • - สิทธิอื่นๆ ตามที่ กพส.กำหนด การพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน กรณีลาศึกษาต่อต้องเป็น พกส.มาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๒ ปี จึงจะใช้สิทธิลาศึกษาต่อได้ 28

  29. หมวด ๕ การประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อ ๑. เพิ่มค่าจ้าง ๒. ต่อสัญญาจ้าง ๓. เลิกจ้าง พนักงานกระทรวงสาธารณสุขพิเศษ ประเมินผลสำเร็จของงานตามช่วงเวลา ที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้าง หรือเพื่อต่อสัญญาจ้าง กรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล การปฏิบัติงาน เพื่อต่อสัญญาจ้าง 29

  30. หมวด ๖ การสิ้นสุดสัญญาจ้าง - ครบกำหนดตามสัญญาจ้าง - อายุครบหกสิบปี หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม - ตาย - ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน - ถูกปลดออก หรือไล่ออก เฉพาะกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง - หน่วยบริการเสร็จสิ้นภารกิจ (และฐานะการเงินของหน่วยบริการ) - ลาออก 30

  31. บทเฉพาะกาล • หน่วยบริการตั้งคณะกรรมการ เพื่อประเมินลูกจ้างชั่วคราวเข้าสู่ • ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุขให้แล้วเสร็จภายใน ๑๘๐ วัน • นับแต่วันที่ระเบียบนี้บังคับใช้ (๒๗ ส.ค. ๕๖) 31

  32. ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง เข้าสู่ตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 32

  33. ๑. การเจ้าหน้าที่จัดประชุมชี้แจงลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง พร้อมแจกหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับการประเมิน ๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับการประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา 33

  34. ๓. การเจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เข้ารับการประเมิน ๓.๑ มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ประเมิน และ ๓.๒ ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีและได้รับการปรับค่าจ้าง ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ หรือ ๓.๓ กรณีไม่เข้าข่ายตาม ข้อ ๓.๒ ให้ผู้บังคับบัญชาจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามระยะเวลาการปฏิบัติงาน โดยผู้นั้นต้องเป็นผู้ผ่านเกณฑ์ตามที่คณะกรรมการส่วนราชการหรือหน่วยบริการกำหนด 34

  35. ๔. ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น*ประเมินตามแบบประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง ( เอกสารหมายเลข ๑ ) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน *ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิด หรือเหนือขึ้นไป ๑ ระดับ เช่น หัวหน้างาน/ฝ่าย/กลุ่มงาน หรือหัวหน้าสถานีอนามัย ๕. หัวหน้าส่วนราชการ**แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน **อธิบดี หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เช่น นพ.สสจ. ผอ.รพศ ผอ.รพท. ๖. คณะกรรมการ***ประเมินคุณลักษณะที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ ( เอกสารหมายเลข ๒ ) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ***คณะกรรมการที่หน่วยบริการแต่งตั้ง 35

  36. ๗. คณะกรรมการรายงานผลการประเมิน ( เอกสารหมายเลข ๑ และ ๒ ) คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๗.๑ ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมิน ๗.๒ สรุปผลการประเมิน และแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการทราบ ภายใน ๒๖ ส.ค. ๒๕๕๖ ๗.๓ จัดทำสัญญาจ้าง และคำสั่งให้พนักงานกระทรวงสาธารณสุขไปปฏิบัติงาน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑ ต.ค. ๒๕๕๖ (ไม่เกิน ๔ ปี) 36

  37. การมอบอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะการมอบอำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะ ๑. ราชการบริหารส่วนกลาง ให้ ผอ.สำนัก/สถาบัน/ผอ.รพ ๒. ราชการบริหารส่วนภูมิภาคและส่วนกลางที่ตั้งอยู่ส่วนภูมิภาค ให้ นพ.สสจ./ผอ.รพศ./ผอ.รพท./ผอ.วิทยาลัย/ผอ.รพ./ผอ.ศูนย์ ๓. กรมต่างๆให้อยู่ในดุลพินิจหัวหน้าส่วนราชการ 37

  38. บทเฉพาะกาล(ต่อ) • จัดทำกรอบอัตรากำลัง พกส. ๔ ปี ภายใน ๑ ปี เสนอ กพส. เห็นชอบ • ปรับเงินค่าจ้างตามประสบการณ์ ร้อยละ ๕ ทุกประสบการณ์ ๒ ปี • แต่ไม่เกิน ๕ ช่วง (๑๐ ปี) • จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภายใน ๑ ปี • แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุขชุดชั่วคราว • มีกรรมการไม่เกิน ๑๒ ท่าน โดยปลัดกระทรวงเป็นประธาน ภายใน ๖๐ วัน 38

  39. ขอบคุณค่ะ 17 39

More Related