1 / 11

การแสดงภาพสามมิติ

การแสดงภาพสามมิติ. จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่ 24 ด.ญ.ปิยธิดา เทพฝอย เลขที่ 29 ด.ญ. อรวรรณ อินทรสุวรรณ์ เลขที่ 36 ด.ญ.อัจจิมา พุมมา จันทร์ เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 โรงเรียน โพธา วัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี. การแสดงภาพสามมิติ.

gerry
Télécharger la présentation

การแสดงภาพสามมิติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแสดงภาพสามมิติ จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24 ด.ญ.ปิยธิดา เทพฝอย เลขที่ 29 ด.ญ.อรวรรณอินทรสุวรรณ์ เลขที่ 36 ด.ญ.อัจจิมา พุมมาจันทร์ เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี

  2. การแสดงภาพสามมิติ รูปภาพแสดงการมองหน้าจอสามมิติผ่านแว่นตาสามมิติ

  3. การถ่ายภาพ 3มิติ การถ่ายภาพสามมิติหรือ 3-D imaging หมายถึง เทคนิคใดก็ได้ที่สามารถเก็บข้อมูลภาพเป็นสามมิติหรือที่สามารถสร้างภาวะลวงตาให้เห็นความลึกของภาพนั้นได้ ภาพสองมิติอื่นๆ สร้างได้ด้วยวิธีทำเป็นภาพ 2 ภาพที่มีความแตกต่าง การสร้างภาพ3 มิติประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกโดยเซอร์ชาร์ลวีทสโตน เมื่อพ.ศ. 2381 

  4. เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนำภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทำให้ตาข้างซ้ายและตาข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่างเทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้

  5. การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสำหรับตาซ้ายและตาขวาที่มีโทนสีที่แตกต่างกันลงบนฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้ำเงิน

  6. การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter)

  7. การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์(active shutter) ต้องแสดงภาพสำหรับตาซ้ายและตาขวาสลับกันไปจนครบ 120 ภาพ ใน 1 วินาที ตาข้างซ้ายและขวาจึงเห็นข้างละ 60 ภาพใน 1 วินาที ซึ่งเป็นความถี่ขั้นต่ำที่ทำให้ไม่รู้สึกว่าภาพสั่น การฉายภาพลักษณะนี้ต้องใช้แว่นตาแอ็กทิฟชัตเตอร์ช่วยในการมองเห็นภาพ

  8. การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier)

  9. การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier) มีชั้นกรองพิเศษ ทีเรียกว่า ‘พาราแลกซ์บาร์เรีย’ในการแบ่งภาพให้ตาแต่ละข้างที่มองผ่านชั้นกรองนี้เห็นภาพที่แตกต่างกัน แล้วสมองจะรวมภาพจากตาซ้ายและตาขวาที่มีมุมมองต่างกันนี้ให้เป็นภาพเดียวกัน ทำให้เรามองเห็นเป็นภาพ ๓ มิติ

  10. ตัวอย่างภาพ 3 มิติ

  11. THE END FOR PRESENT.

More Related