1 / 32

ข้อสังเกตในการจัดทำคำรับรอง

ข้อสังเกตในการจัดทำคำรับรอง. การถ่ายระดับจากใบงานที่ 1 จนถึงใบงานที่ 4 มีตัวชี้วัดบุคคลแต่ไม่รองรับ/ไม่มีตัวชี้วัดกลุ่มงาน หรือ ตัวชี้วัดสำนักงาน มีคนที่ไม่มีตัวชี้วัดรับผิดชอบเลย มีตัวชี้วัดสำนักงาน/กลุ่มงาน/ฝ่ายแต่ไม่มีตัวชี้วัดบุคคล เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงหกเดือนแรก - หกเดือนหลัง

gibson
Télécharger la présentation

ข้อสังเกตในการจัดทำคำรับรอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อสังเกตในการจัดทำคำรับรองข้อสังเกตในการจัดทำคำรับรอง • การถ่ายระดับจากใบงานที่ 1 จนถึงใบงานที่ 4 • มีตัวชี้วัดบุคคลแต่ไม่รองรับ/ไม่มีตัวชี้วัดกลุ่มงาน หรือ ตัวชี้วัดสำนักงาน • มีคนที่ไม่มีตัวชี้วัดรับผิดชอบเลย • มีตัวชี้วัดสำนักงาน/กลุ่มงาน/ฝ่ายแต่ไม่มีตัวชี้วัดบุคคล • เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงหกเดือนแรก - หกเดือนหลัง • ก.พ.แนะนำให้เลือกไปใช้ในการเลื่อนเงินเดือน 5 -7 ตัว • ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ vsตัวชี้วัดเชิงปริมาณ • ผู้รับผิดชอบหลัก - ผู้รับผิดชอบรอง • KPI ที่รับผิดชอบหลายกลุ่มงาน/ฝ่าย • แบบฟอร์มอาจประยุกต์ได้แต่ให้คงหลักการของใบงานที่ 1 – 4 ไว้

  2. ขั้นตอนหลังจากการฝึกอบรมขั้นตอนหลังจากการฝึกอบรม • จังหวัดจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างนพ.สสจ.และ ผอก.รพ./สสอ. ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 • จังหวัดจัดส่งคำรับรองฯไปยัง รพ./สสอ. ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2556 • ผอก.รพ./สสอ. จัดทำคำรับรองกับบุคลากรในสังกัดภายในวันที่ 15 มกราคม 2557 • ทีมควบคุม กำกับและประเมินผลของจังหวัดดำเนินการประเมินประมาณปลายเดือนมกราคม 2557

  3. ระบบควบคุม กำกับ ประเมินผลของจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๕๗

  4. ระบบการควบคุม กำกับและประเมินผลของจังหวัด

  5. การจัดทีมควบคุมกำกับเชิงพื้นที่การจัดทีมควบคุมกำกับเชิงพื้นที่ เมือง เชวาฯ จอมพระ ลำดวน ศีขรฯ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ สังขะ โนนนารายณ์ สนม ท่าตูม ชุมพลบุรี รัตนบุรี ปราสาท พนมดงรัก บัวเชด กาบเชิง

  6. ทีมโซน 1

  7. ทีมโซน 2

  8. ทีมโซน 3

  9. ทีมโซน 4

  10. วิธีการปฏิบัติในการควบคุมกำกับและประเมินผลของจังหวัดวิธีการปฏิบัติในการควบคุมกำกับและประเมินผลของจังหวัด • ติดตามและตรวจสอบข้อมูลผลการดำเนินการจากระบบรายงาน • ร่วมประชุม/กิจกรรมในอำเภอที่รับผิดชอบ • เร่งรัดผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ • ทำการนิเทศ ประเมินผลภาคสนาม • ประสานงาน

  11. ประเด็นการควบคุม กำกับ ประเมินผล • การจัดทำคำรับรองการปฎิบัติราชการ • การติดตามการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล • ส่งเสริม/สนับสนุนการจัดตั้งคลังข้อมูลระดับอำเภอ • การบริหารอำเภอสุขภาพเข้มแข็ง (DHS) • ผลการปฏิบัติราชการตามยุทธศาสตร์ กระทรวง และจังหวัด

  12. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ภก.ทอง บุญยศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

  13. วัตถุประสงค์

  14. การบริหารจัดการสมัยใหม่การบริหารจัดการสมัยใหม่

  15. ภาพรวมทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ภาพรวมทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ หลักการ คุณธรรม สมรรถนะ ผลงาน คุณภาพชิวิต กระจายอำนาจ Right Sizing คุ้มค่า/วัดผลได้ กรอบแนวคิดหลัก ที่สำคัญ กระจายอำนาจ HR e - HR หุ้นส่วน เชิง ยุทธ ศาสตร์ มืออาชีพ (HR Expert) เป็นธรรม /โปร่งใส HR Out sourcing คน ในฐานะ ทุนมนุษย์ ระเบียบกฎหมาย ที่เอื้อ • พ.ร.บ.ระเบียบ • ข้าราชการพลเรือน • ฉบับใหม่ • -ระบบการจำแนก • ตำแหน่งและค่าตอบ • แทนใหม่ • -ข้าราชการวิสามัญ • ฯลฯ • บริหารจัดการ • คนในองค์การ • จาก • ปัจจัยการผลิต • สู่ “ทุนมนุษย์” • สร้างสมรรถนะ • และมาตรฐาน • วิชาชีพผู้ปฏิบัติ • งานด้าน HR • ทำงานเบ็ดเสร็จ • ในตัวเอง(Can do+ • Will do) • เป็นที่ปรึกษาและ • ออกแบบระบบ HR ยุทธศาสตร์ปรับขนาดกำลังคนภาครัฐ 1.ทบทวนบทบาทภารกิจ 2.ปรับกระบวนการและวิธีการทำงาน 3.บริหารจัดการ HR เช่น -แผนยุทธศาสตรด้าน HR -แผนการสืบทอดตำแหน่ง -ระบบฐานข้อมูลบุคคล -การสรรหาคนในระบบเปิด -แผน Rotation ระหว่างส่วนราชการ -ระบบตรวจสอบการใช้กำลังคน -ระบบเกลี่ยกำลังคน 4.พัฒนาคนให้มีสมรรถนะเหมาะสม -แผนพัฒนากำลังคน -ระบบการบริหารจัดการความรู้ -เครือข่ายองค์ความรู้ 5.การเสริมสร้างแรงจูงใจ เช่น -ระบบให้ค่าตอบแทนตามผลงานและ สมรรถนะของบุคคล -ระบบ Fast Track - เกษียณอายุแบบยืดหยุ่น • คณะกรรมการ • พิทักษ์ระบบ • คุณธรรม • มาตรฐานทาง • คุณธรรมและ • จริยธรรม/ • จรรยาบรรณ • ร่วมกำหนด • Strategy • เชื่อมโยง HR กับ • กลยุทธ์องค์กร • การวางแผนและ • การใช้กำลังคน • ภาวะผู้นำและKM • วัฒนธรรมที่เน้น • ผลงาน • กำลังคนคุณภาพ • การรับผิดชอบ • ใช้เครื่องแทนคน • DPIS • คลังข้อมูลข้าราชการ • ที่มีศักยภาพ (Talent • Inventory) • e-Recruitment • e-Examination • e-Learning • e-Training • e-Job Evaluation • การว่าจ้าง • บุคคล หรือ • หน่วยภายนอก • ให้รับงาน/ • ทำงานแทน • ก.พ.มอบอำนาจเพิ่ม • ให้ส่วนราชการกำหนด • จำนวนตำแหน่งได้เอง • ตามกรอบงบประมาณ • และหลักเกณฑ์ ก.พ. • /จัดตำแหน่งได้ตาม • มาตรฐานฯ ที่กำหนด • CHRO จังหวัด ทิศทางการดำเนินการ ใช้HR Scorecard ประเมิน/วัดผลและพัฒนาระบบบริหารจัดการHR Plan Do Check Action

  16. ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร

  17. PMQA Model TQM : Framework P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 18

  18. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) พัฒนาองค์กร Individual Scorecard คุณภาพ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management MIS e-government

  19. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล

  20. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ วางแผน (Plan) ให้รางวัล (Reward) ติดตาม (Monitor) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop)

  21. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๗๖ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก.พ.กำหนด

  22. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการพลเรือนสามัญ (หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒ / ว ๒๐ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๒)

  23. การบริหารเชิงยุทธศาสตร์การบริหารเชิงยุทธศาสตร์

  24. เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์

  25. การถ่ายทอดยุทธศาสตร์/ตัวชี้วัดสู่ระดับต่างๆการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/ตัวชี้วัดสู่ระดับต่างๆ คำรับรองการปฏิบัติราชการ

  26. ตัวชี้วัดหลักของหน่วยงานตัวชี้วัดหลักของหน่วยงาน แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน แผนยุทธศาสตร์อำเภอ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด

  27. การฝึกปฏิบัติการ เกณฑ์การให้คะแนน

  28. ขั้นตอนการฝึกปฏิบัติ • ศึกษาแผนยุทธศาสตร์กระทรวง จังหวัด ตัวชี้วัดจังหวัดที่ถ่ายทอดมา และตัวชี้วัดหลักที่มีการกำหนดเพิ่มเติม • ทบทวนโครงสร้างและอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ (ที่มีอยู่จริง) (ใบงานที่ 1) • การมอบหมายภารกิจแก่เจ้าหน้าที่ (ใบงานที่ 2) • มอบหมายตัวชี้วัดแก่เจ้าหน้าที่ (ใบงานที่ 3) • จัดทำตารางความสัมพันธ์ตัวชี้วัดกับเจ้าหน้าที่ (ใบงานที่ 4) • จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการตามแบบ

  29. คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  30. เป้าหมายการถ่ายทอดยุทธศาสตร์เป้าหมายการถ่ายทอดยุทธศาสตร์

  31. การนำเสนอวันที่ 26, 27 พฤศจิกายน 2556 • ทุกหน่วยงาน • นำเสนอ 10 นาที แลกเปลี่ยน 5 นาที • หัวข้อนำเสนอ • ใบงานที่ 1, 2, 3, 4 • เกณฑ์การให้คะแนน (เลือกมา 1 ตัวชี้วัด) • ขอให้ผู้เข้าประชุมเป็นคนเดี่ยวกับที่มาในวันที่ 21, 22 พฤศจิกายน 2556

More Related