1 / 32

กระบวนทัศน์ใหม่ ของการพัฒนาระบบราชการ

กระบวนทัศน์ใหม่ ของการพัฒนาระบบราชการ. ดำรงค์ พลโภชน์ นักวิชาการศึกษา 9 ชช หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. AGENDA. ที่มาของการพัฒนาระบบราชการ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

gilda
Télécharger la présentation

กระบวนทัศน์ใหม่ ของการพัฒนาระบบราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ ดำรงค์ พลโภชน์ นักวิชาการศึกษา 9 ชช หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

  2. AGENDA • ที่มาของการพัฒนาระบบราชการ • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) • ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 • ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 • ระบบรายงานผลการปฏิบัติราชการของ สพฐ. • เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการของ สพฐ. ปีงบประมาณ 2557

  3. ที่มาของการพัฒนาระบบราชการที่มาของการพัฒนาระบบราชการ • พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชนมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองตามความต้องการของประชาชน ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติราชการ การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ”

  4. โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ สพฐ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักอำนวยการ สำนักการคลังและ สินทรัพย์ สำนักติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักทดสอบ ทางการศึกษา สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ สำนักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษา สำนักพัฒนาระบบบริหาร งานบุคคลและนิติการ สำนักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา สำนักพัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักสำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักบริหารงานการศึกษาภาคบังคับ ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพม. 42 เขต สพป. 183 เขต หมายถึง หน่วยงานตามกฎกระทรวง โรงเรียน 31,116แห่ง หมายถึง หน่วยงานภายใน

  5. การแบ่งส่วนราชการใน สพป.2553 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มอำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์

  6. การแบ่งส่วนราชการใน สพม. 2553 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มอำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์

  7. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 12 กำหนดว่าเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มาตรา 45 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กำหนด

  8. คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2546 มีมติเห็นชอบในหลักการและรายละเอียดของแนวทางและวิธีการในการสร้างแรงจูงใจเพื่อเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ที่สำนักงาน ก.พ.ร. เสนอ โดยกำหนดให้ทุกส่วนราชการจะต้องทำการพัฒนาการปฏิบัติราชการและทำข้อตกลงผลงานกับผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล และจะได้รับสิ่งจูงใจตามระดับของผลงานตามที่ตกลง

  9. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) 1. การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการสาธารณะ (Service Excellence) 2. การพัฒนาองค์กรภาครัฐให้มีความทันสมัย มีขีดสมรรถนะสูงและพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้เป็นมืออาชีพ (HPO) 3. การสร้างคุณค่าและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (Public Value) 4. การบริหารงานและการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integration) 5. การมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaboration) 6. การยกระดับความโปร่งใสและความเชื่อมั่นศรัทธาในหน่วยงานของรัฐ (Integrity) 7. การขับเคลื่อนระบบราชการไทยเพื่อพร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน (Readiness for ASEAN 2558)

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 :การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 :การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 :การบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :การวางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐ

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 :การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

  15. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 :การยกระดับความโปร่งใสและสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน

  16. ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

  17. ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

  18. ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ • การพัฒนาผู้เรียน • โรงเรียนจุฬาภรณ์ • การเตรียมพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • นักเรียนระดับปฐมวัยีความพร้อม • การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ • แท็บเล็ต • โรงเรียนมาตรฐานสากล • โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

  19. กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • โรงเรียนในฝัน • โรงเรียนสิ่งแวดล้อม • โรงเรียนวิถีพุทธ • โรงเรียนสุจริต • โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ประชาธิปไตย ดนตรี นาฏศิลป์ไทย • กิจกรรมพัฒนาสุขภาพนักเรียน

  20. กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ • อัตราเด็กเข้าเรียน เด็กจบ เด็กออกกลางคัน • โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน • นักเรียนพิการ นักเรียนด้อยโอกาศ นักเรียนพิการเรียนร่วม

  21. กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั่งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ • อัตราจ้างวุฒิปริญญาตรีปฏิบัติงานสนับสนุนการสอน • จัดสรรอัตราจ้างแทนนักการภารโรง • การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา • ครูเก่ง ครูดี มีคุณภาพ คุณธรรม • e-Training • ครูได้รับการพัฒนาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  22. กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอำนาจทางการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา • การควบคุมภายใน • การปฏิบัติงานด้านการเงิน และด้านบัญชี • การบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา • การนิเทศและการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล • การประกันคุณภาพภายใน • การจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

  23. กลยุทธ์ที่ 6 จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสันติสุขในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ • นักเรียน จชต. ได้เรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น • นักเรียนสายสามัญควบอิสลาม • การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา จชต. • นักเรียน จชต. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน • การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในสถานศึกษา จชต.

  24. ระบบรายงานผลการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ระบบ KRS / ARS / AMSS / AMSS++ / SMSS พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

  25. ระบบ KRS (KPI Report System) • ระบบ KRS (KPI Report System) คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • สำหรับให้สำนักส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ • ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยอัตโนมัติและแสดงข้อมูลแบบ Real Time

  26. ระบบ ARS (Action Plan Report System) • ระบบ ARS (Action Plan Report System) คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ • สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ • ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่อไป

  27. ระบบ AMSS (Area Management Support System) • ระบบ AMSS (Area Management Support System) คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดเก็บข้อมูลโดยตรงกับสถานศึกษาเพื่อให้เป็นประโยชน์สำหรับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง • ใช้ในการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา และของสถานศึกษาในสังกัด

  28. ระบบ AMSS++(Area Management Support System ++) • สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้สารสนเทศในการบริหารงานในเขตพื้นที่ 4 ด้าน คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านนโยบายและแผน ด้านงบประมาณ และด้านวิชาการ

  29. ระบบ SMSS(School Management Support System) • ระบบ SMSS (School Management Support System) คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา • สำหรับให้สถานศึกษาจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน และสำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้ประโยชน์สำหรับการรายงาน/ประมวลผลการปฏิบัติงาน

  30. เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการของ สพฐ. ปีงบประมาณ 2557 1. การอบรมชี้แจงการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 • อบรมชี้แจง 4 จุด (ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคใต้) • สพป. สพม. อบรมร่วมกันตามภูมิภาคที่ตั้งของเขตพื้นที่นั้นๆ • ผู้เข้าร่วมอบรมเขตละ 2 คน (ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด KRS 1 คน , ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ARS 1 คน) • หลักสูตรการอบรม 2 วัน • เริ่มต้นตั้งแต่กลางเดือนจนถึงปลายเดือนมีนาคม 2557

  31. 2. การอบรมการใช้งานระบบ AMSS++ และ SMSS ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 • เป้าหมายจะอบรมให้ครบทุกเขตพื้นที่การศึกษา • หลักสูตรที่ 1 AMSS++ และ SMSS ผู้เข้ารับการอบรมคือเขตที่ยังไม่เคยอบรม AMSS++ จำนวน 140 เขต (อบรมไปแล้ว 85 เขต) เขตละ 3 คน(เป็น สพท. ที่ไม่เคยอบรม AMSS++ มา ก่อน โดยจะผนวกการอบรม SMSS ไปพร้อมกันด้วย) • หลักสูตรที่ 2 SMSS (เฉพาะ SMSS) กับเขตที่เคยอบรม AMSS++ แต่ยังไม่เคยอบรม SMSS จำนวน 65 เขต เขตละ 3 คน • ช่วงเวลาการอบรมประมาณ พฤษภาคม 2557 • สถานที่อบรม กรุงเทพมหานคร

  32. THANK YOU กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

More Related