1 / 17

ธุรกรรม (เสี่ยง)... เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ โดย นายเกียรติศักดิ์ ว่องพานิช หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม

ธุรกรรม (เสี่ยง)... เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ โดย นายเกียรติศักดิ์ ว่องพานิช หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม. 3 ความรู้สึกสำคัญของผู้เสียภาษี. ไม่ชอบจ่ายภาษี. ไม่อยากเจอเจ้าหน้าที่. ไม่อยากมีความผิด. กิจการของธนาคารพาณิชย์. 1. รับฝากเงิน/ โอนเงิน 2. การให้สินเชื่อ

giorgio
Télécharger la présentation

ธุรกรรม (เสี่ยง)... เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ โดย นายเกียรติศักดิ์ ว่องพานิช หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ธุรกรรม(เสี่ยง)...เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ธุรกรรม(เสี่ยง)...เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ โดย นายเกียรติศักดิ์ ว่องพานิช หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม

  2. 3 ความรู้สึกสำคัญของผู้เสียภาษี ไม่ชอบจ่ายภาษี ไม่อยากเจอเจ้าหน้าที่ ไม่อยากมีความผิด

  3. กิจการของธนาคารพาณิชย์กิจการของธนาคารพาณิชย์ 1.รับฝากเงิน/ โอนเงิน 2. การให้สินเชื่อ • การเรียกเก็บเงินตามตราสาร • การรับรองและการค้ำประกัน • การลงทุนในหลักทรัพย์ • ธุรกิจต่างประเทศ (L/C, Forex.) • การเช่าตู้นิรภัย รับชำระเงิน บัตรทางการเงิน เป็นต้น มาตรา 9 ทวิ พ.ร.บ.ธนาคารพาณิชย์ พ.ศ.2505 และที่ ธปท.ประกาศกำหนด

  4. กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ 1.รับฝากเงิน/ โอนเงิน 2. การให้สินเชื่อ • การเรียกเก็บเงินตามตราสาร • การรับรองและการค้ำประกัน • การลงทุนในหลักทรัพย์ • ธุรกิจต่างประเทศ (L/C, Forex.) • การเช่าตู้นิรภัย รับชำระเงิน บัตรทางการเงิน เป็นต้น 1. การโอนเงินไปต่างประเทศ 2. การให้กู้ยืม การรับซื้อขายสิทธิเรียกชำระหนี้ การค้ำประกัน การลงทุนในหลักทรัพย์ Inter Factoring, Forex. มาตรา 91/2 (5) แห่งประมวลรัษฎากร

  5. รายได้เยี่ยงธนาคารที่ต้องเสีย SBT • ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการจากการให้กู้ยืมเงิน หรือค้ำประกัน • กำไรจากการซื้อขายตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ • กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ • กำไรจากการออกตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ • รายได้จากการบริการรับส่งเงินตราไปต่างประเทศ มาตรา 91/5 แห่งประมวลรัษฎากร

  6. การคำนวณภาษีกรณี SBT ใช้ฐาน =รายรับก่อนหักรายจ่าย อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ =3% + ภาษีท้องถิ่น 10% หรือ = 3.3% มาตรา 91/6 (3) แห่งประมวลรัษฎากร

  7. ธนาคารพาณิชย์ การให้สินเชื่อ เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ การซื้อ ซื้อลด รับช่วงซื้อลดตั๋วเงินหรือตราสารทางการเงิน กิจการเยี่ยงธนาคาร การให้กู้ยืม ทำไม่ได้ เงินให้กู้ยืม การออกหรือซื้อขายตั๋วเงิน (รวมการรับช่วงซื้อลดตั๋ว) 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์

  8. 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ กรณีที่ 1กรรมการ ให้บริษัทกู้ยืม และมีรายได้ตอบแทนเป็นดอกเบี้ย กรรมการ ผู้ให้กู้ บริษัท ผู้กู้ ไม่เสียSBT เงินส่วนตัว คู่กรณีเดียว นานๆ เกิดครั้ง เงินไม่ส่วนตัว เป็นธุรกิจ ทำเป็นประจำ ถือเป็นรายจ่าย ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย SBT

  9. 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ กรณีที่ 2บริษัท ให้กรรมการกู้ยืม และมีรายได้ตอบแทนเป็นดอกเบี้ย บริษัท ผู้ให้กู้ กรรมการ ผู้กู้ ไม่เสีย SBT คู่กรณีเดียว นานๆ เกิดครั้ง เป็นธุรกิจ ทำเป็นประจำ • ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย SBT สถาบันการเงิน บ.ประกันชีวิต SBT

  10. 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ กรณีที่ 3บริษัท ให้พนักงานกู้ยืม และมีรายได้ตอบแทนเป็นดอกเบี้ย เสียSBT เว้นแต่ ให้พนักงานที่เป็นสมาชิก กู้ยืมใน ระบบสวัสดิการ ตามระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสะสมของพนักงาน หรือ เพื่อพนักงานที่จัดตั้งขึ้น

  11. 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ กรณีที่ 4บริษัท ให้บริษัทกู้ยืม และมีรายได้ตอบแทนเป็นดอกเบี้ย 4.1 กู้ยืมกันจริงต้องเข้าเงื่อนไขจึงยกเว้น (1) กู้ยืมกันเองตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป (2) ถือหุ้นในส่วนทุนของอีกบริษัทไม่น้อยกว่า 25% (3) ต้องถือหุ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ก่อนการกู้ยืม คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.26/2534 ลว. 25 ธันวาคม 2534

  12. 1. การกู้ยืมเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ กรณีที่ 4บริษัท ให้บริษัทกู้ยืม และมีรายได้ตอบแทนเป็นดอกเบี้ย ยกเว้น SBT 4.2 นำเงินไปฝากธนาคาร หรือซื้อตั๋วเงิน (ด.บ.อัตราปกติ) 4.3 การกู้เงินโดยตัวแทนที่เป็นบริษัทในเครือเพื่อวัตถุ ประสงค์อื่น เช่น ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน เป็นต้น 4.4 การให้กู้ยืมโดยนำเงินไปลงทุนในหุ้นกู้(ถือรอบเดียว) 4.5 การกู้ยืมเพื่อผ่อนชำระค่าจ้าง ค่าสินค้า

  13. ไม่เสีย SBT ค้ำประกันแบบประกันการชำระหนี้ โดยไม่มีค่าตอบแทน หรือผลประโยชน์จากการเข้าไปรับภาระผูกพันนั้น เสีย SBT ค้ำประกันแบบมีค่าตอบแทน หรือผลประโยชน์ หรือค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการที่ชัดเจนจากการเข้าไปรับภาระผูกพันนั้น 2. การค้ำประกัน

  14. 3. การเรียกเก็บเงินตามตราสารตราสารสิทธิเรียกร้องชำระหนี้แทน รวมถึงธุรกรรมตาม ข้อตกลงซื้อขาย ล่วงหน้า ในตลาดเฉพาะด้วย เสีย SBT ทุกกรณี

  15. 4. ธุรกิจเยี่ยงธนาคารพาณิชย์อื่น ๆ หากหากินกับรายได้กิจการต่อไปนี้ เสีย SBT ทุกกรณี • การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • ค่าธรรมเนียม / ดอกเบี้ยจากการใช้บัตรเครดิต • ค่าธรรมเนียมในการใช้บัตรเครดิต กรณีธุรกรรม การเบิกถอนเงินสดล่วงหน้า

  16. บทกำหนดโทษทางภาษี (ทุกภาษี) บทลงโทษทางแพ่ง (เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม) และ บทลงโทษทางอาญา (จำคุกและค่าปรับ) • เบี้ยปรับ : เงินที่ต้องชำระเพิ่มเนื่องจากผู้ประกอบการชำระภาษีอากรขาดไปหรือน้อยกว่าที่ควรเสีย หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของกฎหมาย • เงินเพิ่ม : เงินที่ต้องชำระเพิ่มเนื่องจากผู้ประกอบการชำระภาษีล่าช้าเกินเวลา ที่กฎหมายกำหนด • ค่าปรับทางอาญา : เงินที่ต้องชำระเนื่องจากผู้ประกอบการจงใจฝ่าฝืน ละเลย หรือไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย

  17. เสียภาษีถูกต้องวันนี้ ไม่มีภาษีย้อนหลัง

More Related