560 likes | 746 Vues
อนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือด. แย่งอีเล็กตรอนที่ผนังหลอดเลือด. ทำลายเซ็ลผนังหลอดเลือด. ผนังหลอดเลือดขลุขละ. โคเลสเตอรอลในหลอดเลือดมาเกาะติด. กรดไขมัน โดย วิสัย วงศ์สายปิ่น หน้า ๖๑. อนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือด. สารต้านอนุมูลอิสระ (สารแอนตี้ออกซิแดนท์จะทำลายอนุมูลอิสระ)
E N D
อนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือดอนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือด แย่งอีเล็กตรอนที่ผนังหลอดเลือด ทำลายเซ็ลผนังหลอดเลือด ผนังหลอดเลือดขลุขละ โคเลสเตอรอลในหลอดเลือดมาเกาะติด กรดไขมัน โดย วิสัย วงศ์สายปิ่น หน้า ๖๑
อนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือดอนุมูลอิสระกับการทำลายหลอดเลือด
สารต้านอนุมูลอิสระ (สารแอนตี้ออกซิแดนท์จะทำลายอนุมูลอิสระ) - สารต้านอนุมูลฯจะจับกับอนุมูลอิสระ เพื่อหยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ เช่น วิตามิน A C E ซึ่งมีอยู่ในผักและผลไม้พร้อมกับอาหารที่มี แร่ธาตุสังกะสี วิตามินบี๑บี๕ และบี๖ซึ่งทำ งานร่วมกัน
ผลไม้ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด คือ กะหล่ำปี ผักโขม บร็อคโคลี่ พริกขี้หนูแดง และหัวหอม
ทุกเซ็ลของพืชมีโคเรสเตอรอล...?น้ำมันพืชมีโคเลสเตอรอล.... ? น้ำมันพืชมีโคเลสเตอรอล.... ? ดังนั้น เราควรทานน้ำมันพืช .... ? เราควรทานครีมจากน้ำมันพืช....?
ประเภทของไขมัน ~ โคเลสเตอรอล ๑. ไขมันอิ่มตัว (Saturated fats) เป็นไขมันสีขาว แข็งตัวที่อุณหภูมิห้อง พบได้มากในไขมัน เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จาก สัตว์บกและพืชบางชนิด เช่น วัว หมู ไก่ นม เนย ครีม จากน้ำมันมะพร้าว ปาล์ม เป็นต้น. เฉลียว
สูตรไขมันอิ่มตัว ไขมันอิ่มตัวมีไฮโดรเจน(H)มากที่สุด
๒. ไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fat) เป็นไขมันสีขาว เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง พบได้มากในน้ำมันพืช เช่น น้ำมันมะกอก ขาวไพด เมล็ดดอกทานตะวัน ดอกคำฟอย เป็นต้น. ไขมันไม่อิ่มตัวมี ๒ กลุ่ม คือ ๒.๑ ไขมันไม่อิ่มตัวจุดเดียว(เชิงเดี่ยว) ๒.๑ ไขมันไม่อิ่มตัวหลายจุด(เชิงซ้อน)
สูตร ๒.๑ ไขมันไม่อิ่มตัวจุดเดียว (Monounsaturated fats) ๒.๒ ไขมันไม่อิ่มตัวหลายจุด (Polyunsaturated fats)
เนื้อสัตว์ ไขมันสัตว์ และน้ำมันพืช จะมีไขมันทั้งอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวปนกัน อยู่เสมอ
ชนิดน้ำมัน กรดไขมัน (๑๐๐ กรัม) อิ่มตัวไม่อิ่มตัวไม่อิ่มตัว (จุดเดียว)(หลายจุด) มะพร้าว ๘๕.๒ ๖.๖ ๑.๗ ปาล์ม ๔๕.๓ ๔๑.๖ ๘.๓ หมู ๓๘ ๕๓ ๙ รำข้าว ๑๙ ๓๘ ๓๗ ถั่วเหลือง ๑๔.๕ ๒๓.๒ ๕๖.๕ งา ๑๔.๒ ๓๗.๓ ๔๓.๙ ข้าวโพด ๑๒.๗ ๒๔.๗ ๕๗.๘ มะกอก ๑๔ ๖๙.๗ ๑๑.๒ ทานตะวัน ๑๑.๙ ๒๐.๒ ๖๓
๓. ไขมันทรานส์ (Trans fat) คนทำขึ้นเอง การผัดใช้ความร้อนสูง/นานหรือไม่ ? การทอดใช้ความร้อนสูง/นานหรือไม่ ? เนยเทียมเกิดจากการเติมไฮโดรเจนลง..... เช่น มันฟรั่งทอด โพดคั่ว คุกกี้ เค้ก โดนัท ขนมของฟรั่ง เป็นต้น ครีมผงจากปาล์มและถั่วเหลือง บุ้งไฟแดง
๓. ไขมันทรานส์ (Trans fat) ....(ต่อ) ไขมันทรานส์เป็นไขมันที่ร่างกายไม่เคยได้รับ มาก่อน จึงย่อยและเผาผลาญได้ยาก ทำให้สะสมในร่างกายเป็นความอ้วน เพิ่มโค.ตัวเลว .....เกิดโรคหัวใจ และมะเร็ง
กรดไขมันจำเป็นที่สร้างไม่ได้ ไขมัน กรดไขมัน + กรดไขมันจำเป็น ๑. กลุ่มโอเมก้า ๓ เป็นกรดไขมันจำเป็น. ในสัตว์พบมากในปลาทะเลน้ำลึกและเย็น เช่น ปลาแซลมอน คอด ทูน่า โอ ซาบะ ฯ (EPA, DHA) ในพืชพบในน้ำมันถั่ว มะกอก ทานตะวัน ฯ (ALA) EPA = eicosapentaenoic acid) DHA = docosahexaenoic acid ALA = (a-linolenic acid) เ หน้า ๑๔๖
ประโยชน์ของโอเมก้า ๓ ป้องกันการการแตกของคราบหลอดเลือด ป้องกันเกล็ดเลือดไม่ให้สร้างลิ่มเลือด ทานโอเมก้า ๓ (EPA,DHAXวันละ ๓-๔ กรัม/วัน การอุดตัน ของหลอดเลือดลดลง ๓๓% ทานจากพืช(ALA) ๑,๕ - ๓ กรัมต่อวันก็ทำให้การ อุดตันลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เ หน้า๑๔๐ - ๑๕๒
องค์การอนามัยโลกให้ทานโอเมก้า ๓ จาก EPA, DHA จากปลา๐.๓ – ๐.๕ กรัม/วัน หรือ ALA จากพืช๐.๘ – ๑.๑ กรัม/วัน โอเมก้า ๓ ขนาดเม็ดละ ๑ กรัม น้ำมันปลา(fish oil)มีโอเมก้า ๓ เท่าไร...... ? เ หน้า ๑๕๓
ปริมาณโอเมก้า ๓ (ALA)ในน้ำมันพืชและธัญพืช ชนิดของน้ำมัน มี ALA....กรัม/ช้อนโต๊ะ น้ำมันมะกอก ๐.๑ น้ำมันถั่วเหลือง ๐.๙ น้ำมันวอลนัท ๑.๔ น้ามันเมล็ดแฟลกซีด ๘.๕ ถั่วอื่นๆ ?? หน้า ๑๕๓
สรุปง่าย ๆ กลุ่มคน ข้อแนะนำ คนปกติ ทานปลาที่มีไขมันและถั่ว อาทิตย์ละ ๒ ครั้ง โรคหลอดเลือดหัวใจ EPA, DHA ๑ กรัม/วัน ต้องการลดระดับ EPA, DHA ๒ - ๔ กรัม./วัน ไตรกลีเซอไรด์ หน้า ๑๕๔
ปลาที่คนไทยทานมีไขมันจำเป็นในสัตว์-ปลามีปลาที่คนไทยทานมีไขมันจำเป็นในสัตว์-ปลามี โอเมก้า - ๓ ถึงแม้จะไม่อยู่ในน้ำหนาวเย็น เช่น ปลาทู ปลาช่อนปลาสวายรวมทั้งหอยนางลม แต่หอยนางลมมีโคเลสเตอรอลสูง. ปลาทูขนาดกลาง-ใหญ่ มีโอเมก้า-๓ เพียงพอต่อการ ป้องกันเส้นเลือดแข็ง แต่ต้องทานบ่อย ๆ หน้า ๑๔๙
นี่คือยี่ห้อ แต่ต้องอ่าน ส่วนประกอบ
สูตรโอเมก้า ๓ / ๖ ไขมันไม่อิ่มตัวหลายจุด
๒. กลุ่มโอเมก้า ๖ พบในน้ำมันดอกคำฟอย ทานตะวัน ข้าวโพด ถั่วเหลือง รำข้าว ดอกพริมโรส.
ชนิดน้ำมัน กรดไขมัน (๑๐๐ กรัม) อิ่มตัวไม่อิ่มตัวไม่อิ่มตัว (จุดเดียว)(หลายจุด) มะพร้าว ๘๕.๒ ๖.๖ ๑.๗ ปาล์ม ๔๕.๓ ๔๑.๖ ๘.๓ หมู ๓๘ ๕๓ ๙ รำข้าว ๑๙ ๓๘ ๓๗ ถั่วเหลือง ๑๔.๕ ๒๓.๒ ๕๖.๕ งา ๑๔.๒ ๓๗.๓ ๔๓.๙ ข้าวโพด ๑๒.๗ ๒๔.๗ ๕๗.๘ มะกอก ๑๔ ๖๙.๗ ๑๑.๒ ทานตะวัน ๑๑.๙ ๒๐.๒ ๖๓
วิธีลดโค.เลว(LDL) และเพิ่มโค.ดี(HDL) โคเลสเตอรอลมี ๒ ตัว คือ เลว กับ ดี ๑. ลดการรับประทานอาหารที่ก่อ ให้เกิดโค.เลว และเพิ่มโค.ดี ๒. ออกกำลังกาย ๓. ลดความกังวล....เครียด (มีต่อ)
ปลาอะไรที่มีไขมันดีมากปลาอะไรที่มีไขมันดีมาก ปลากะพง ปลาทู ปลาทับทิม ปลาหมึก ปลาดุก/ช่อน
เนื้ออะไรที่มีไขมันมากเนื้ออะไรที่มีไขมันมาก
ปลาอะไรที่มีไขมันไม่อิ่มตัว/โค.ดีมาก ? ปลากะพง(เลี้ยง/ธรรชาติ) ปลาทู ปลาทับทิม ปลาหมึก ปลาดุก/ช่อน
ปลาอะไรที่มีสารพิษน้อยที่สุด ? ซาบะ ทูน่า ปลาทู ช่อน/ดุก หอย ปู กุ้ง หมึก ทับทิม
ปลาอะไรที่มีคุณค่ามากที่สุด ? ซาบะ ทูน่า ปลาทู ช่อน/ดุก หอย ปู กุ้ง หมึก ทับทิม
ควรทานปลาตัวใหญ่หรือตัวเล็ก ? ซาบะ ทูน่า ปลาทู ช่อน/ดุก หอย ปู กุ้ง หมึก ทับทิม
ทำให้สุกอย่างไรจึงได้ประโยชน์สูงสุด ? ทอด ? ผัด ? ย่าง ? ต้ม ?
เรื่องของการทอด ทอดความร้อนสูงจะเกิด....อะไร ?- อิ่มตัว ไม่อิ่มตัว ทอดนาน....เกิดอะไร ? โอเมก้า ๓ น้ำมันเก่า....เกิดอะไร ? ทอดจนกรอบควรใช้น้ำมันอะไร ? ทอดไข่เจียวควรใช้......? ใส่หัวหอมด้วย....? / ใส่มะเขือเทศ....? ปาท่องโก๋....?
ผลเสียจากการย่าง.... ผลดีจากการย่าง.... ย่างอย่างไรจึงจะดี....
อาหารต้มดีหรือไม่ ? อาหารลวก....? อาหารล้าง....? น้ำยา....? เนื้อ ปลา ผัก ถั่ว ใส่ตู้เย็นแล้วช้อนมันออกดีหรือไม่ ?
โปรตีนในถั่ว/ในเนื้อสัตว์โปรตีนในถั่ว/ในเนื้อสัตว์ จำนวนโปรตีน ชนิดของไขมันดี/เลว จำนวนเส้นใย อันตรายต่อสุขภาพ ถั่ว
จำนวนเส้นใย อาหาร (๑๐๐ กรัม)เส้นใย (กรัม) น้ำผึ้ง/น้ำตาล ๐ กรัม ข้าวขาว ๐.๑ กรัม ข้าวกล้อง ๑ กรัม มะม่วงสุก ๓ กรัม ถั่วเหลือง ๑๖ กรัม
อันตรายจากถั่วต่างๆ อัลฟาทอกซิน GMO กรดยูริค ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วแดง ถั่วเขียว ถั่วดำ
ถั่วกับเกาต์ เกิดจากร่างกายสร้างกรดยูริคมากกว่าปกติ และกรดนี้ค้างอยู่ในร่างกาย (ในเลือด ๘+มก.%) ทานพิวรีนมากทำให้พิวรีนในเลือดมาก เปลี่ยนเป็นกรดยูริคจำนวนมาก
สารพิวรีน(มก.) ต่ออาหาร ๑๐๐ กรัม เครื่องในไก่ ๒๙๐ ไก่ ๑๕๗ ถั่วเหลือง ๒๖๓ ขี้เหล็ก ๑๓๓ ชะอม ๒๔๓ สะตอ ๑๒๒ ตับ ๒๔๑ ตำลึง ๘๙ กระถิน ๒๒๖ ถั่วลิสง ๗๔ ถั่วแดง ๒๒๑ หมู ๗๐ ถั่วเขียว ๒๑๓ถั่วงอก/แขก ๒๘(สารฝอกสี) ถั่วดำ ๑๘๐ ถั่วพู ๑๙ เนื้อ ๘๓, ดอกกะหล่ำ ๖๘, ผักบุ้ง ๕๔, หน่อไม้ ๕๓, คะน้า ๓๔, ผักบุ้งจีน ๓๓
ถั่วกับนิ่ว ออกซาเลท + แคลเซี่ยม ตกตะกอนเป็นแคลเซี่ยม ออกซาเลท = ไม่ดูดซึม ออกซาเลท + แคลเซี่ยม = นิ่ว
ออกซาเลทในอาหาร คนที่เป็นนิ่วไม่ควรทานออกซาเลทเกิน ๑๐ มก./วัน ถั่ว ๘๕ กรัม มีออกซาเลท ๖๓๘ มก. ผักโขม ๖๐ กรัม มีออกซาเลท ๕๔๓ มก. น้ำเต้าหู้= ถั่วตัดแต่งพันธุกรรม(GMO) เต้าหู้แข็ง= ถั่ว + โดโลไมท์(มีแคลเซี่ยม + แมก.)
วิธีลดออกซาเลทในอาหารวิธีลดออกซาเลทในอาหาร ๑. ทานอาหารที่มีแคลเซี่ยม นม ปลา ๒. ทานแคลเซี่ยมทันทีหลังอาหาร ๓. ทานเต้าหู้แข็ง...สารเคมีอุตสาหกรรม มหาจำลอง ๔. แลคตาซอย...นม + ถั่วเหลือง
แป้ง โปรตีน ไขมัน โปรตีนไปหุ้ม กรดไขมันอิสระ ไตรกลีเซอไรด์ หุ้มด้วยโปรตีน การย่อย/ดูดซึมไขมัน กลูโครส กรดไขมันมโนกลีเซอไรด์ ไดกลีเซอไรด์ ไตรกลีเซอไรด์ ฟอสโฟไลปิด เซ็ลลำใส้
คาร์โบไฮเดรต ๑.แป้งและใยอาหาร (คาร์เชิงเดี่ยว) เช่น ข้าวถั่ว ผัก ผลไม้ต่าง ๆ... ๒. น้ำตาล (คาร์เชิงเดี่ยว) เช่น น้ำผึ้ง น้ำ ผลไม้ต่าง ๆ... ย่อยช้าหรือเร็ว ? ย่อยเร็วอันตรายหรือไม่ ?
ดัชนีน้ำตาล ชนิดอาหารค่าดัชนี (เพราะอะไร) ? กลูโคส ๑๐๐ (ดูดซึมทันที) ? มันฟรั่งอบ ๘๕ ? คอร์นเฟลค ๗๗ ? ข้าวกล้อง/ฟักทอง ๗๖/๗๕ (ข้าวต้ม,โจ๊ก?) น้ำตาลทราย/ผึ้ง ๕๘ ? มะม่วงสุก/โยเกิร์ต ๕๕/๓๓ (มะม่วงห่าม) ? ถั่วเหลือง ๑๘ (ต้มจนเละ)?
ทานน้ำตาลทำให้ไขมันในเลือดสูง....?ทานน้ำตาลทำให้ไขมันในเลือดสูง....? อาหารแป้ง น้ำตาล กลูโครส อินซูลิน โคเลสเตอรอลและไตร. สะสม
ส่วนประกอบของถั่วเหลืองตราเคียวคู่ส่วนประกอบของถั่วเหลืองตราเคียวคู่ (ผลิตผลของเกษตรกรไทยธรรมชาติแท้ ๑๐๐%) ไขมัน ๑ กรัม ๒% ของความต้องการต่อวัน - อิ่มตัว ๐ โค. ๐ โปรตีน ๑๕ คาร์โบ. ๖๕ ๒๒% - ใยอาหาร ๒๖ ๒๖% - น้ำตาล ๐ (เล็กซิทิน พิวรีน ออกซาเลท...?) (คิดที่ถั่ว ๑๐๐ กรัม)