310 likes | 1.33k Vues
ไม้สัก สุโขทัย. การทำให้ไม้แห้ง. การทำให้ความชื้นหรือน้ำระเหยออกจากเนื้อไม้ที่สดหรือมีความชื้นมากเกินพอ โดยให้เหลือปริมาณความชื้นอยู่ในเนื้อไม้ได้ส่วนสมดุลกับบรรยากาศที่อยู่โดยรอบไม้ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ ให้เหลือ 1 ใน 10 ของความชื้นสดหรือประมาณ 8-16 % (12 % โดยเฉลี่ย ).
E N D
ไม้สัก สุโขทัย การทำให้ไม้แห้ง การทำให้ความชื้นหรือน้ำระเหยออกจากเนื้อไม้ที่สดหรือมีความชื้นมากเกินพอ โดยให้เหลือปริมาณความชื้นอยู่ในเนื้อไม้ได้ส่วนสมดุลกับบรรยากาศที่อยู่โดยรอบไม้ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ ให้เหลือ 1 ใน 10 ของความชื้นสดหรือประมาณ 8-16 % (12 % โดยเฉลี่ย)
ประโยชน์ของการผึ่งและอบไม้ประโยชน์ของการผึ่งและอบไม้ 1. ไม้เบา – ขนส่งง่าย – ลดต้นทุน 2. ไม้หดตัวก่อนนำไปใช้ 3. ไม้อยู่ตัวหรือคงรูป – ยืดหดตัวน้อย 4. ไม้แข็งแรงขึ้นกว่าเดิม 5. รอยต่อด้วยตะปู/ตะปูควงดีขึ้น 6. ไม้เป็นฉนวนความร้อน และฉนวนไฟฟ้าดีขึ้น 7. ทาสีหรือทาน้ำมันชักเงาได้ดีขึ้น 8. แมลงและเห็ดราทำลายได้น้อยลง 9. ติดกาว อาบน้ำยาได้ดีขึ้น 10. เก็บเสียงได้ดีขึ้น
การผึ่งและอบไม้ 1. การผึ่งด้วยกระแสอากาศ ไม้ขนาด <6 นิ้ว ใช้เวลา 4-6 เดือน ได้ความชื้น 25-30 % ระยะห่างของกองไม้ >30 ซม. สูงจากพื้นดิน >30 ซม. ไม้คั่น (stick) ขนาด 1x1 นิ้ว และ 1x½ นิ้ว แนวไม้คั่นอยู่ในแนวดิ่งตรงกัน ฤดูฝนควรมีหลังคาคลุม
การผึ่งและอบไม้ 2. การอบแห้งด้วยเตาอบ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ได้ - เร็วกว่าการผึ่งแห้งโดยกระแสอากาศ 10-30 เท่า ต้องควบคุมไม่ให้ผิวหน้าไม้แห้งเร็วเกินไป โดยควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ให้เหมาะสม
การป้องกันรักษาเนื้อไม้การป้องกันรักษาเนื้อไม้ ช่วยยืดอายุความทนทานของไม้ออกไปได้อีก 3-5 เท่าจาก 1-2 ปี 1. การไม่ใช้สารเคมี - แช่น้ำ ลนไฟ ปลูกสร้างที่โปร่งโล่ง เทคอนกรีตรองพื้นก่อนปักเสาไม้ ปูพื้นด้วยหินกรวดที่ก้นหลุมก่อนปักเสา
การป้องกันรักษาเนื้อไม้การป้องกันรักษาเนื้อไม้ 2. การใช้สารเคมี 2.1 การไม่ใช้แรงอัด – ทา พ่น จุ่ม แช่สารเคมี -ทาหรือพ่น - ผึ่งหรืออบแห้งแล้ว – เสารั้วหรือเสาบ้านให้ลอกเปลือก - ทาหรือพ่นทั้งท่อนหรือเฉพาะส่วนที่อยู่คอดิน (ลึกลงดิน 30-40 ซม. และเหนือพื้นดิน 60-70 ซม.) - ทาหรือพ่นมากกว่า 1 ครั้ง -จุ่มน้ำยา - ไม้แห้งจะดีกว่าไม้สด จุ่ม 2-3 นาที – ใช้งานชั่วคราวหรือใช้ในร่ม - ทาสีหรือน้ำมันชักเงาทับอีกครั้ง -แช่ในน้ำยา - ไม้สดหรือไม้แห้ง - ไม้แห้งจะได้ผลดีกว่า - ใช้ทั้งไม้ท่อนกลมและไม้แปรรูป – ลอกเปลือกออกก่อนแช่ ½ - 3 วัน - กองผึ่งไม้ให้แห้งไม่น้อยกว่า 7 วัน
อาบน้ำยาไม้ ราชบุรี พ่นน้ำยารักษาเนื้อไม้ กรมป่าไม้ กรุงเทพมหานคร
การป้องกันรักษาเนื้อไม้การป้องกันรักษาเนื้อไม้ 2.2 การใช้แรงอัด - ใช้กับไม้สด อัดน้ำยาไม้ ตรัง อัดน้ำยาไม้ กรมป่าไม้ กรุงเทพมหานคร
การผลิตเครื่องเรือน 1. เครื่องเรือนไม้ชนิดที่ถอดไม่ได้ – เครื่องเรือนสำเร็จรูป 2. เครื่องเรือนไม้ชนิดที่ถอดได้ ไม้แปรรูป อบให้แห้ง ไม้แปรรูปสำหรับเครื่องเรือน ไส กลึง ตัด เจาะ ประกอบเข้ารูป ขัด ทาสี เครื่องเรือน ตรวจสอบคุณภาพ บรรจุหีบห่อ รอการจำหน่าย
ตู้โบราณไม้สัก สุโขทัย
ตู้โบราณไม้สัก สุโขทัย
โรงเลื่อยชุมชน ราชบุรี
โรงเลื่อยชุมชน ราชบุรี
โรงเลื่อยชุมชน ราชบุรี
โรงเลื่อย ฉะเชิงเทรา ตู้โบราณไม้สัก สุโขทัย เรือนจำลาดยาว กรุงเทพมหานคร
ไม้แกะสลัก 1. แบบภาพลอยตัว 2. แบบภาพนูนสูงหรือภาพครึ่งซีก 3. แบบภาพนูนต่ำ "ภาพหน้าจันทร์" - นูนขึ้นมาเล็กน้อย รูปแบบของงานแกะสลักไม้ 1. งานแกะสลักภาพ เป็นภาพบุคคล สัตว์ สิ่งของ 2. งานแกะสลัก เป็นลายไทย ลายจีน ลายยุโรป ภาพธรรมชาติ งานแกะสลักไม้ที่นิยมว่ามีคุณค่า งดงาม จะต้องเป็นงานที่สลักด้วยมือทุกขั้นตอน
ไม้สักแกะสลัก หางดง เชียงใหม่
แกะสลักไม้เสม็ด ลำพูน ลำปาง
ไม้ยูคาลิปตัส กาญจนบุรี ไม้เสาเข็ม/ไม้ค้ำยัน ไม้เสาเข็ม 6 นิ้ว x 6 ม., 5 นิ้ว x 5 ม., 4 นิ้ว x 4 ม. และ 3 นิ้ว x 3 ม. ให้หัวเสาเข็มอยู่ลึกกว่าระดับน้ำใต้ดินขึ้นลง เพื่อป้องกันไม่ให้ไม้ผุเร็ว และต้องลึกพอที่จะไม่ให้แมลง มอด ปลวกต่าง ๆ เข้าทำลายได้ ไม้ค้ำยัน 1½ x 3 นิ้ว หรือ 2 x 4 นิ้ว ใช้ซ้ำ 2-3 ครั้ง
ชิ้นไม้สับยูคาลิปตัส ชิ้นไม้สับ ชิ้นไม้เล็กๆ ซึ่งถูกสับออกมาจากไม้ท่อนโดยเครื่องสับชิ้นไม้ ไม้ท่อน กิ่งไม้ปลายไม้ เศษไม้ปลายไม้จากอุตสาหกรรมไม้ ไม้ตัดสางขยายระยะ กิ่งไม้ตามถนนหลวง