1 / 69

แนวการเขียนหลักสูตร และประมวลรายวิชาตาม TQF

แนวการเขียนหลักสูตร และประมวลรายวิชาตาม TQF. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สมพล พงศ์ไทย กรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา. หลักสูตร.

graiden-kim
Télécharger la présentation

แนวการเขียนหลักสูตร และประมวลรายวิชาตาม TQF

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวการเขียนหลักสูตรและประมวลรายวิชาตาม TQF ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สมพล พงศ์ไทย กรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา

  2. หลักสูตร กรอบความคิด แนวทางดำเนินการ และผลสัมฤทธิ์ที่ปรารถนา ที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นแผนในการจัดการเรียนรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง

  3. หลักสูตร องค์ประกอบสำคัญ “ไตรยางค์การศึกษา” • วัตถุประสงค์(Objective) • ประสบการณ์การเรียนรู้ (Learning experience) • การประเมินผล (Evaluation)

  4. L O ต้องสอดคล้องกัน E

  5. วัตถุประสงค์การศึกษา ความรู้ ความสามารถ คุณธรรมของผู้เรียนที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นหลังจากผ่านกระบวนการเรียนรู้(ประสบการณ์การเรียนรู้)แล้ว • ไม่ใช่กิจกรรมของครูหรือกระบวนจัดการเรียนรู้

  6. ประสบการณ์การเรียนรู้ประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดกิจกรรมต่างๆให้นักศึกษาเกิดความสามารถ/คุณธรรมตามวัตถุประสงค์

  7. การประเมินผลผู้เรียน การตรวจสอบว่าผู้เรียนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การศึกษาที่ได้วางแผนไว้หลังสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้แล้ว(ผลสัมฤทธิ์)

  8. การบริหารจัดการหลักสูตรการบริหารจัดการหลักสูตร • การจัดทำ • การนำไปใช้ • การประเมินผล • การสะท้อนผลและพัฒนา

  9. การจัดทำหลักสูตร • วางกรอบแนวคิด • กำหนดระดับ • กำหนดวัตถุประสงค์ • กำหนดประสบการณ์การเรียนรู้

  10. การจัดทำหลักสูตร(ต่อ) • กำหนดการประเมินผล ประเมินผลการศึกษา ประเมินหลักสูตร • กำหนดการสะท้อนผลและพัฒนา • การเขียน

  11. กำหนดกรอบแนวคิดของหลักสูตรกำหนดกรอบแนวคิดของหลักสูตร • นโยบาย • ปรัชญา

  12. กำหนดระดับ • ระดับอนุปริญญา • ระดับปริญญาตรี • ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต • ระดับปริญญาโท

  13. ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง • ระดับปริญญาเอก

  14. กำหนด วัตถุประสงค์ ประสบการณ์การเรียนรู้ การประเมินผลกำหนด วัตถุประสงค์ ประสบการณ์การเรียนรู้ การประเมินผล ต้องตรงกัน(สอดคล้องกัน)

  15. การประเมินผล ประกอบด้วย * สัมฤทธิผลของผู้เรียน * ประสิทธิภาพของหลักสูตร

  16. กำหนดการสะท้อนและพัฒนากำหนดการสะท้อนและพัฒนา • ติดตาม • ประเมินผล • ทบทวน • แก้ไข • ปรับปรุง

  17. การเขียน • รูปแบบ ตามที่มหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด

  18. การเขียนวัตถุประสงค์

  19. การศึกษา (Education) • กระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างมนุษย์ให้ คิดเป็น ทำเป็น ประพฤติชอบ มีสุขภาพแข็งแรง

  20. หมวดหมู่การศึกษา (Taxonomy of Education)

  21. การเรียนรู้ คิดเป็น ทำเป็น ประพฤติชอบ สุขภาพแข็งแรง หมวดหมู่ พุทธิศึกษา หัตถศึกษา จริยศึกษา สุขศึกษา หมวดหมู่การศึกษา

  22. พุทธิศึกษา หัตถศึกษา จริยศึกษา สุขศึกษา ประชานพิสัย จลนพิสัย เจตคติพิสัย สุขพิสัย หมวดหมู่(พิสัย)การศึกษา

  23. ประชานพิสัย(Cognitive domain) การใช้สมองจำ คิด แก้ปัญหา (รู้จำ รู้คิด รู้แก้ปัญหา)

  24. การเรียนรู้ทางประชานพิสัย(Cognitive domain learning) การเรียนรู้ของสมองเพื่อเพิ่มพูนความจำ การให้เหตุผล วิธีคิด รวมทั้งทักษะในการแก้ปัญหา (รู้จำ รู้คิด รู้แก้ปัญหา)

  25. จลนพิสัย(Psychomotor domain) การแสดงออกทางร่างกาย เป็นการใช้กล้ามเนื้อ ข้อต่อ ประสาทสัมผัส ในการกระทำต่างๆ โดยความควบคุมของระบบสมองและประสาท

  26. การเรียนรู้ทางจลนพิสัย(Psychomotor domain learning) การเรียนรู้ทางกายเพื่อการแสดงออกของร่างกายส่วนต่างๆ เป็นการใช้กล้ามเนื้อ ข้อต่อ ระบบประสาท ในการกระทำต่างๆให้ถูกต้อง แม่นยำ มีประสิทธิภาพ

  27. เจตคติพิสัย(Affective domain) คุณธรรม ความรู้สึก และอารมณ์ ในทางสร้างสรรค์

  28. การเรียนรู้ทางเจตคติพิสัย(Affective domain learning) การปลูกฝังทางจิตใจและจิตวิญญาณเพื่อพัฒนาจิตใจให้เกิดคุณธรรม ความรู้สึก และอารมณ์ ในทางสร้างสรรค์

  29. ระดับและลำดับการเรียนรู้ระดับและลำดับการเรียนรู้ • การเรียนรู้ทุกพิสัยมีระดับ • ระดับการเรียนรู้เป็นความจริงตามธรรมชาติ • การเรียนรู้ต้องเป็นลำดับ จากขั้นง่ายไปสู่ขั้นยาก

  30. ระดับและลำดับการเรียนรู้ทางประชานพิสัย*ระดับและลำดับการเรียนรู้ทางประชานพิสัย* ประเมินคุณค่าได้ (Evaluation) สังเคราะห์ได้ (Synthesis) วิเคราะห์ได้ (Analysis) ประยุกต์ได้ (Application) เข้าใจ (Comprehension) จำได้ (Recall) *BenjaminBloom 1956

  31. สรุประดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางประชานพิสัยสรุประดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางประชานพิสัย • จำ (Recall) • เข้าใจ (Comprehension) • คิดแก้ปัญหา (Problem solving)

  32. ระดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางจลนพิสัย*ระดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางจลนพิสัย* ทำเป็นธรรมชาติ (Naturalization) ทำพร้อมกันทุกส่วนได้ (Articulation) ทำได้ปราณีต (Precision) ทำทีละส่วนได้ (Manipulation) เลียนแบบได้ (Imitation) * Dave’s

  33. สรุประดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางจลนพิสัยสรุประดับ/ลำดับการเรียนรู้ทางจลนพิสัย • เลียนแบบได้ (Imitation) • ทำภายใต้การควบคุมได้ (Control) • ทำได้เองโดยอัตโนมัติ (Automatism)

  34. ระดับ/ลำดับการเรียนรู้ปลูกฝังทางเจตคติพิสัย*ระดับ/ลำดับการเรียนรู้ปลูกฝังทางเจตคติพิสัย* ปฏิบัติจนเป็นนิสัย(Characterising) มีระบบคุณธรรม(Organizing) มีค่านิยม(Valueing) สนใจ ไตร่ตรอง ทดลองปฏิบัติ(Responding) รับรู้ (Receiving) * Bloom’s

  35. สรุป ระดับ/ลำดับการปลูกฝังทางเจตคติพิสัย • รับรู้ (Receiving) • สร้างค่านิยม (Valueing) • สร้างคุณธรรม (Internalization)

  36. วัตถุประสงค์ (ทบทวน) • ความสามารถ/คุณธรรมของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด หลังจากผ่านกระบวนการเรียนรู้แล้ว * ไม่ใช่กิจกรรมของครูหรือกระบวนจัดการเรียนรู้

  37. การจัดทำวัตถุประสงค์ • คิด • เขียน

  38. ประเภทของวัตถุประสงค์การศึกษาประเภทของวัตถุประสงค์การศึกษา • วัตถุประสงค์ทั่วไป • วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม(เฉพาะ)

  39. กรอบแนวคิดของวัตถุประสงค์กรอบแนวคิดของวัตถุประสงค์ • นโยบาย รัฐ สถาบัน • ปรัชญา สาขา/สาขาวิชา สถาบัน

  40. ลักษณะที่ดีของวัตถุประสงค์การศึกษาลักษณะที่ดีของวัตถุประสงค์การศึกษา • สอดคล้อง(Relevance) • สมเหตุสมผล(Logical) • ไม่คลุมเครือ(Uneqivocal)

  41. เป็นไปได้ (Feasible) • สังเกตได้(Observable) • วัดได้(Measurable)

  42. องค์ประกอบของวัตถุประสงค์การศึกษาองค์ประกอบของวัตถุประสงค์การศึกษา • ผู้เรียน(audience) • พฤติกรรมที่แสดงผลของการเรียนรู้(behavior) • สภาพการณ์ที่กำหนดการเรียนรู้(condition) • เกณฑ์ความสามารถ(degree of acceptable performance)

  43. วัตถุประสงค์การศึกษาเชิงพฤติกรรมวัตถุประสงค์การศึกษาเชิงพฤติกรรม • ผู้เรียน(audience) • พฤติกรรมที่แสดงผลของการเรียนรู้(behavior) • สภาพการณ์ที่กำหนดการเรียนรู้(condition) • เกณฑ์ความสามารถ(degree of acceptable performance) • นักศึกษาชั้นปีที่ ๒ • สามารถต้มไข่ไก่ • แบบยางมะตูม • ได้ ๙ ครั้ง ใน ๑๐ ครั้ง

  44. ประสบการณ์การเรียนรู้ประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดกิจกรรมต่างๆให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ • รายวิชา • สื่อการศึกษา

  45. ประมวลรายวิชา • เอกสารรวบรวมรายวิชาทั้งหมดของหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง

  46. แผนรายวิชา • องค์ประกอบที่สำคัญ OLE

  47. การกำหนดและการเขียนวัตถุประสงค์การกำหนดและการเขียนวัตถุประสงค์ • เชิงพฤติกรรม • ผลสัมฤทธิ์เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน

  48. องค์ประกอบของวัตถุประสงค์การศึกษาองค์ประกอบของวัตถุประสงค์การศึกษา • ผู้เรียน (audience) • พฤติกรรมที่แสดงผลของการเรียนรู้(behavior) • สภาพการณ์ที่กำหนดการเรียนรู้(condition) • เกณฑ์ความสามารถ(degree of acceptable performance)

  49. คำที่แสดงพฤติกรรมด้านประชานพิสัยคำที่แสดงพฤติกรรมด้านประชานพิสัย • จำ---บอก, ระบุ, ให้คำนิยาม, ฯ • เข้าใจ----อธิบาย, เรียบเรียง, บรรยาย, แปลผล ฯ • นำไปใช้---- คำนวณ, ประยุกต์ ฯ ………..ต่อ

  50. คำที่แสดงพฤติกรรมด้านประชานพิสัย(ต่อ)คำที่แสดงพฤติกรรมด้านประชานพิสัย(ต่อ) • วิเคราะห์----แยก, เปรียบเทียบ, วิเคราะห์ ฯ • สังเคราะห์----วางแผน, เสนอแนวทาง, เสนอแนวคิด, สังเคราะห์, ตั้งสมมุติฐาน ฯ • ประเมิน-----ตัดสิน, วิพากษ์, วิจารณ์, ประมาณการ, ฯ

More Related