1 / 63

“ การศึกษาการรับรู้ของเกษตรกรในการเตรียมความพร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )”

ศักยภาพการดำเนินงานของ สมาร์ท ฟาร์ม เมอร์ ข้าว ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขัน เพื่อ ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ( AEC ). “ การศึกษาการรับรู้ของเกษตรกรในการเตรียมความพร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )”. งานวิจัย เชิงบูรณาการระหว่าง สศข. 1 – 12

Télécharger la présentation

“ การศึกษาการรับรู้ของเกษตรกรในการเตรียมความพร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศักยภาพการดำเนินงานของสมาร์ทฟาร์มเมอร์ข้าวศักยภาพการดำเนินงานของสมาร์ทฟาร์มเมอร์ข้าว ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขัน เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) “การศึกษาการรับรู้ของเกษตรกรในการเตรียมความพร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)” • งานวิจัยเชิงบูรณาการระหว่าง สศข.1 – 12 • ปีงบประมาณ 2557

  2. ความสำคัญของปัญหา • 31 ธ.ค. 58จะก้าวเข้าสู่ AEC • AEC ก่อให้เกิดประโยชน์ และผลกระทบกับภาคเกษตรไทย • ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีบทบาทต่อสังคมไทย • การพัฒนาเกษตรกรก้าวเข้าสู่ Smart Farmer • สศข. สนใจศึกษาศักยภาพการดำเนินงานSmart Farmerข้าว ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC ซึ่งจะเป็นแนวทางพัฒนา Smart Farmerข้าว และส่งผ่านไปถึงเกษตรกรทั่วไป

  3. ขอบเขตการศึกษา

  4. วิธีการศึกษา • 1.การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลปฐมภูมิ • ข้อมูลทุติยภูมิ ใช้แบบสัมภาษณ์กับ Existing Smart Farmer สุ่มตัวอย่างแบบ Stratified Random Sampling โดยแต่ละพวกใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายแบบไม่ใส่คืน ขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น 1,537 ราย หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และอินเตอร์เน็ต

  5. วิธีการศึกษา(ต่อ) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) เพื่ออธิบายลักษณะข้อมูลส่วนบุคคล 2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงาน ด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการเงิน ด้านรายได้จากการผลิตข้าว และความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC วัดโดยระบบการให้คะแนน 5 ระดับ คือ... มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย

  6. วิธีการศึกษา(ต่อ) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 2.3 สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) พิจารณาจากค่า Factor Loading 2.4 การวัดประสิทธิภาพด้วยวิธีการ Data Envelopment Analysis (DEA) ด้าน Output Oriented 2.5 การวิเคราะห์อิทธิพลของศักยภาพการดำเนินงานที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC โดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองสมการหลายชั้น (Simultanous Equation Model)

  7. วิธีการศึกษา(ต่อ) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ดังสมการต่อไปนี้ KNOW = b02 + b7PERSONAL + b8PRODUCT+ b9MARKET + b10FINANCE + b11INCOME + e2 COMPET = b01 + b1KNOW + b2PERSONAL+ b3PRODUCT + b4MARKET + b5FINANCE + b6INCOME + e1

  8. วิธีการศึกษา(ต่อ) วิธีการศึกษา(ต่อ) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา • ตัวแปรอิสระ(Independent variables) • 1) ศักยภาพการดำเนินงานด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล (PERSONAL) • 2) ศักยภาพการดำเนินงานด้านการผลิต (PRODUCT) • 3) ศักยภาพการดำเนินงานด้านการตลาด (MARKET) • 4) ศักยภาพการดำเนินงานด้านการเงิน (FINANCE) • 5) รายได้จากการผลิตข้าว (INCOME)

  9. วิธีการศึกษา(ต่อ) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา • ตัวแปรตาม(Dependent Variables) • ความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Competitiveness) • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (KNOW)

  10. วิธีการศึกษา(ต่อ) Competitiveness ศักยภาพการดำเนินงาน 1. ด้านคุณสมบัติบุคคล 2. ด้านการผลิต 3. ด้านการตลาด 4. ด้านการเงิน 5. ด้านรายได้ KNOW

  11. สมมติฐานในการศึกษา • 1. ศักยภาพการดำเนินงานดำเนินงานด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล การผลิต การตลาด การเงิน และรายได้จากการปลูกข้าวส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC ของ Smart Farmerข้าว • 2. ศักยภาพการดำเนินงานด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล การผลิต การตลาด การเงิน และรายได้จากการปลูกข้าวของ Smart Farmerข้าว ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC

  12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นแนวทางส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวที่เป็น Smart Farmer ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง และเป็นแบบอย่างให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวในระดับท้องถิ่นในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากำหนดนโยบายเพื่อก้าวสู่ AEC

  13. ผลการศึกษา อายุ จำนวนปีการศึกษา

  14. ผลการศึกษา(ต่อ) เนื้อที่ทำนา รายได้จากการทำนา

  15. ผลการศึกษา(ต่อ) • ศักยภาพการดำเนินงาน - ด้านรายได้ • ศักยภาพการดำเนินงาน หมายถึง ความสามารถในการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

  16. -การให้คำปรึกษาปัญหาทางด้านการเกษตรกับบุคคลอื่นๆ-การให้คำปรึกษาปัญหาทางด้านการเกษตรกับบุคคลอื่นๆ - การเข้าร่วมงาน/กิจกรรม/การจัดนิทรรศการ/การรณรงค์ทางด้านการเกษตร - การเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนาด้านการเกษตร • - การนำข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรมาปรับใช้แก้ไขและพัฒนาการเกษตรของตนเองได้ • - การแสวงหาความรู้ด้านการเกษตรจากแหล่งต่างๆ • - การมีความรู้ในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ • - การมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานGAP GMP เกษตรอินทรีย์หรือมาตรฐานอื่นๆ • - การมีใจรักและภูมิใจในการทำการเกษตร • - การเข้าถึงแหล่งข้อมูลด้านการเกษตร ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล • หมายถึง การที่เกษตรกรมีการแสวงหาความรู้ เทคโนโลยีใหม่ด้านการเกษตร สามารถเข้าถึงข้อมูล นำความรู้มาแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรให้แก่ตนเองและผู้อื่นได้ มีใจรักและภูมิใจในการทำเกษตร

  17. ผลการศึกษา(ต่อ) • ด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล (ต่อ) • คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ ทุกครั้ง บ่อยครั้ง เกือบทุกครั้ง บางครั้ง นาน ๆ ครั้ง • กิจกรรมที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีใจรักและภูมิใจในการทำการเกษตร • กิจกรรมที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การให้คำปรึกษาทางด้านการเกษตรกับบุคคลอื่นๆ

  18. - การมีกระบวนการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม - การมีการบันทึกข้อมูลหรือวางแผนการเพาะปลูก - การมีความสามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการผลิต • - การมีกระบวนการผลิตที่สอดคล้องกับมาตรฐานGAP GMP เกษตรอินทรีย์ หรือมาตรฐานอื่นๆ • - การมีการนำเทคโนโลยีและแนวคิดทางการเกษตรใหม่ๆมาปรับใช้ • - การมีการรวมกลุ่มหรือจัดตั้งสหกรณ์ • - การผลิตโดยเน้นปฏิบัติตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการผลิต • หมายถึง การที่เกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการผลิต มีกระบวนการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ รวมทั้งการปฏิบัติตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  19. ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการผลิต (ต่อ) • คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม 1-5 คะแนน ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด • กระบวนการที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การผลิตโดยเน้นปฏิบัติตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • กระบวนการที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การรวมกลุ่มหรือจัดตั้งสหกรณ์

  20. - การมีการรวมกลุ่ม หรือจัดตั้งสหกรณ์ เพื่อจำหน่ายผลผลิต • - การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า • - การขยายกลุ่มลูกค้า เพิ่มช่องทางการจำหน่าย • - การติดตามข่าวสารทางการค้า เพื่อรู้ทิศทาง และความต้องการของตลาด • - การปรับปรุงคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการตลาด • หมายถึง การที่เกษตรกรมีความสามารถในการรวมกลุ่มหรือจัดตั้งสหกรณ์ เพื่อจัดจำหน่ายผลผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า ขยายกลุ่มลูกค้า ปรับปรุงคุณภาพสินค้าห้ได้มาตรฐาน รวมถึงการติดตามข่าวสารการค้า

  21. ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการตลาด (ต่อ) • คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย • ความรู้ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ การติดตามข่าวสารทางการค้าเพื่อรู้ทิศทางและความต้องการของตลาด • ความรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า

  22. - การมีความสามารถในการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียน มีเงินลงทุนหมุนเวียนเพียงพอ ในการลงทุนทำนา 1 รอบการผลิตอย่างต่อเนื่อง • -การมีความสามารถในการลดต้นทุน • - การจัดทำบัญชีครัวเรือน หรือบัญชีฟาร์ม • -การมีความสามารถเข้าถึงแหล่งเงินสินเชื่อ และเงินทุน ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการเงิน • หมายถึง การที่เกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียน การลดต้นทุน และการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อและเงินทุน

  23. ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านการเงิน (ต่อ) คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย • ความรู้ด้านการค้าที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีความสามารถเข้าถึงแหล่งสินเชื่อและเงินทุน • ความรู้ด้านการค้าที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การจัดทำบัญชีครัวเรือนหรือบัญชีฟาร์ม

  24. ผลการศึกษา(ต่อ) ความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่... • ความสามารถในการลดต้นทุน • ความสามารถในการผลิตสินค้ามาตรฐาน • ประสิทธิภาพทางการผลิต

  25. - การปลูกข้าวไม่เกินปีละ 2 ครั้งต่อปี - การใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ตามคำแนะนำของกรมการข้าว • - การทำบัญชีฟาร์มสม่ำเสมอ ทุกฤดูการเพาะปลูก • - การลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว • - การลดการใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดศัตรูข้าว โดยใช้ตามหลักวิชาการแนะนำ • - การลดการใช้ปุ๋ยเคมี โดยใช้ปุ๋ยเคมีตามอัตราที่หลักวิชาการแนะนำ ผลการศึกษา(ต่อ) ความสามารถในการลดต้นทุน

  26. ผลการศึกษา(ต่อ) ความสามารถในการลดต้นทุน (ต่อ) คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย • ผลกระทบจากการเปิด AEC ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การปลูกข้าวไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี • ผลกระทบจากการเปิด AEC ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การทำบัญชีฟาร์มสม่ำเสมอทุกฤดูการเพาะปลูก

  27. - การที่แหล่งน้ำที่ใช้ในไร่นา ไม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนจากวัตถุอันตรายหรือสิ่งใดที่เป็นอันตราย - การที่พื้นที่ปลูกเป็นแหล่งที่ไม่มีวัตถุหรือสิ่งที่เป็นอันตรายที่จะก่อให้เกิดสารตกค้างหรือสารปนเปื้อน • - การใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดีจากแหล่งที่เชื่อถือได้ • - การมีสถานที่ที่เก็บรักษาปุ๋ย/สารเคมี ทางการเกษตรที่เหมาะสม • - การป้องกันตนเองจากอันตรายที่เกิดจากการใช้ปุ๋ย/สารเคมีทางการเกษตร • - การใช้ปุ๋ย/สารเคมี ตามคำแนะนำอย่างถูกต้อง • - การบันทึกข้อมูลตลอดกระบวนการผลิต จนกระทั่งจำหน่ายอย่างน้อย2 ปี • - การมีกระบวนการจัดการด้านการเก็บ และหลังการเก็บเกี่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ • - การมีกระบวนการจัดการด้านการผลิต ตั้งแต่กระบวนการปลูกจนก่อนการเก็บเกี่ยว • -การพักผลผลิต การขนย้ายในบริเวณแปลงเพาะปลูก การเก็บรักษา มีกระบวนการขนส่งและการเก็บรักษาผลผลิตให้คงคุณภาพ ผลการศึกษา(ต่อ) ความสามารถในการผลิตสินค้ามาตรฐาน

  28. ผลการศึกษา(ต่อ) ความสามารถในการผลิตสินค้ามาตรฐาน (ต่อ) คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย • ความรู้มาตรการในการรองรับที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การป้องกันตัวเองจากอันตรายที่เกิดจากการใช้ปุ๋ย/สารเคมีทางการเกษตร • ความรู้มาตรการในการรองรับที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การบันทึกข้อมูลตลอดกระบวนการผลิตจนกระทั่งจำหน่ายข้าวอย่างน้อย 2 ปี

  29. 2) การรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะทำให้สินค้าเกษตรและอาหารของไทยมีตลาดส่งออกที่เปิดกว้างมากขึ้นทั้งภายในประเทศสมาชิกอาเซียน และนอกกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน • 5) ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียนมีข้อสงวนว่า การทำนา ทำสวน ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ การแปรรูปไม้จากป่าธรรมชาติ การประมงในน่านน้ำไทยเป็นสาขาที่ไทยไม่อนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนโดยเด็ดขาด • 1) การรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะมีการเปิดเสรีทางการค้าของประเทศในอาเซียนมีภาษีเป็นร้อยละ 0 จะทำให้ปริมาณการค้าขายสินค้าเกษตรและอาหารระหว่างกันเพิ่มมากขึ้น • 3) การรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะมีการเปิดเสรีการค้าของประเทศอาเซียน ในภาคเกษตรนับว่าเริ่มมีการเปิดเสรีการค้ามาแล้วตั้งแต่ปี 2553 • 4) การรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทำให้ประเทศสมาชิกร่วมมือ และส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรที่มีการแข่งขันอย่างยุติธรรม • 6) การเปิดเสรีด้านแรงงานจะเปิดเฉพาะแรงงานวิชาชีพที่มีการทำข้อตกลงยอมรับวิชาชีพของกันและกันในอาเซียนก่อน ซึ่งแรงงานเกษตรไม่รวมอยู่ในข้อตกลงนี้ ผลการศึกษา(ต่อ) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC

  30. 8)เกษตรกรจะได้รับผลกระทบจากการแข่งขันที่สูงขึ้น เนื่องจากมีสินค้าประเภทเดียวกันจากประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น • 11) การเปิดเสรีด้านการค้าของอาเซียน สำหรับสินค้าข้าวของประเทศไทยได้กำหนดให้นำเข้าเฉพาะข้าวหักเท่านั้น เพื่อมาแปรรูป ไม่ได้รวมถึงการนำเข้าข้าวเปลือกด้วย • 7)การเกษตรบางสาขาจะได้รับผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต่ำ เมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูกจากประเทศสมาชิกอาเซียน • 9) รัฐบาลได้อนุมัติให้มีกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตด้านการเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทส และช่วยเหลือผู้ที่ได้รับกระทบจากการเปิดเสรีการค้าภาคการเกษตร • 10) เกษตรกรจะต้องมีการปรับตัว เตรียมพร้อมรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับประเทศสามชิกอาเซียน เช่น การลดต้นทุน ลดการใช้สารเคมีผลิตสินค้า • 12)ต้นทุนการผลิตข้าวของประเทศไทยสูงกว่าประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นประเทศคู่แข่งในการส่งออกข้าวของไทย เนื่องจากปัจจัยการผลิต(ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าแรง ค่าจ้างเครื่องจักร)ที่มีราคาสูงกว่า และเกษตรกรใช้ปุ๋ย/ยา/สารเคมีมากเกิน ผลการศึกษา(ต่อ) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC (ต่อ)

  31. ผลการศึกษา(ต่อ) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC (ต่อ) คะแนนวัดระดับการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม1-5 คะแนน ได้แก่ มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย • ความรู้มาตรการในการรองรับที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ต้นทุนการผลิตข้าวของประเทศไทยสูงกว่าประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นประเทศคู่แข่งในการส่งออกข้าวของไทย เนื่องจากปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงกว่า และเกษตรกรใช้ปุ๋ย/สารเคมีมากเกิน • ความรู้มาตรการในการรองรับที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด คือ การที่รัฐบาลได้อนุมัติให้มีกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตด้านการเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าภาคการเกษตร

  32. ผลการศึกษา(ต่อ) ด้านรายได้ รายได้เงินสดการปลูกข้าวของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรขายข้าวได้เฉลี่ยไร่ละ 525.59 กิโลกรัม ราคาเฉลี่ย 12.22 บาทต่อกิโลกรัม มีรายได้เงินสดเฉลี่ยไร่ละ 6,527.69 บาท เมื่อหักต้นทุนเงินสดเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 2,807.18 บาท จึงมีรายได้เงินสดสุทธิไร่ละ 3,720.52 บาท หรือ กิโลกรัมละ 7.04 บาท

  33. ผลการศึกษา(ต่อ) การวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงานของSmart Farmerข้าว ที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ 2) การวัดประสิทธิภาพการผลิตด้วยวิธีการ DEA 3) การวิเคราะห์อิทธิพลของศักยภาพการดำเนินงานที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC โดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองสมการหลายชั้น

  34. ผลการศึกษา(ต่อ) 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ตัวแปรแฝงขีดความสามารถในการแข่งขัน (COMPET) ประกอบด้วย ตัวแปรสังเกต ดังนี้ ความสามารถในการลดต้นทุน ความสามารถในการผลิตสินค้ามาตรฐาน ประสิทธิภาพการผลิต ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.508 0.579 และ 0.234 ตามลำดับ

  35. ผลการศึกษา(ต่อ) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ

  36. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรแฝงขีดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AEC (KNOW) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกต know 1 – know 12 ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.618 0.721 0.611 0.784 0.659 0.681 0.802 0.825 0.570 0.710 0.547 และ 0.623 ตามลำดับ

  37. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรแฝงด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล (PERSON) ประกอบด้วย ตัวแปรสังเกต person 1 – person 9 ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.693 0.713 0.666 0.534 0.536 0.723 0.689 0.596 และ 0.123 ตามลำดับ

  38. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรแฝงศักยภาพการดำเนินงานด้านการผลิต (PROD) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกต prod1_1, prod1_2, prod1_3, prod1_4, prod1_5, prod1_6, prod1_8, prod1_8, prod2, prod3, prod4, prod5_1, prod5_2, prod5_3, prod6, prod 7

  39. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.260 0.334 0.498 0.464 0.289 0.425 0.382 0.299 0.396 0.468 0.510 0.674 0.583 0.653 0.507 และ 0.436 ตามลำดับ

  40. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรแฝงศักยภาพการดำเนินงานด้านการตลาด (MARK) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกต mark 1_1, mark 1_2, mark 1_3, mark 2_1, mark 2_2, mark 2_3, mark3, mark 4, mark 5 .... ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.863 0.807 0.853 0.648 0.631 0.456 0.490 0.411 และ 0.220 ตามลำดับ

  41. ผลการศึกษา(ต่อ) • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (ต่อ) ตัวแปรแฝงศักยภาพการดำเนินงานด้านการเงิน (FINANCE) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกต finance 1 – finance 4 ตัวแปรสังเกตมีค่า Factor Loadings เท่ากับ 0.550 0.393 0.475 และ 0.537 ตามลำดับ

  42. ผลการศึกษา(ต่อ) • 2. การวัดประสิทธิภาพการผลิตด้วยวิธีการ DEA ค่าประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.543 ค่าสูงสุด 1.000 ค่าต่ำสุด 0.010 เกษตรกรส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพการผลิตอยู่ในระดับต่ำและปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 82 โดยแบ่งเป็นเกษตรกรมีค่าประสิทธิภาพการผลิตอยู่ในระดับต่ำ (<0.50)ร้อยละ 41 และระดับปานกลาง (0.50-0.75)ร้อยละ 41 ขณะที่ค่าประสิทธิภาพสูง (>0.75) ร้อยละ 18

  43. ผลการศึกษา(ต่อ) 3. การวิเคราะห์อิทธิพลของศักยภาพการดำเนินงานที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC โดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองสมการหลายชั้น แบบจำลองครั้งนี้มุ่งอธิบายถึงความสัมพันธ์และขนาดอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อก้าวเข้าสู่ AEC ของSMART Farmerข้าว ได้แก่ 1. ศักยภาพการดำเนินงานด้านคุณสมบัติส่วนบุคคล (PERSON) 2. ศักยภาพการดำเนินงานด้านการผลิต (PROD) 3. ศักยภาพการดำเนินการด้านการตลาด (MARK) 4. ศักยภาพการดำเนินงานด้านการเงิน (FINANCE) 5. รายได้จากการผลิตข้าว (INCOME) 6. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (KNOW)

  44. ผลการศึกษา (ต่อ)

  45. ผลการศึกษา (ต่อ)

  46. ผลการศึกษา (ต่อ)

  47. ผลการศึกษา(ต่อ) • ผลการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธี Three Stage Least Squares KNOW = 0.148243 *PERSON+ 0.158479* PROD + 0.065414* MARK (4.925585)*** (5.160985)*** (2.487075)**+0.164024*FINANCE +(-7.94E-07) * INCOME + e1 (5.732495)*** (-0.591928)NS COMPET = 0.312826 *KNOW+ 0.018403* PERSON + 0.402320* PROD(2.045317)*** (0.546199)*** (11.45240)**+0.043164*MARK + 0.171268* FINANCE + 7.20E-07*INCOME + e1 (1.800909)*** (4.963270)*** (1.270864)NS

  48. ผลการศึกษา(ต่อ) • ผลการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธี Three Stage Least Squares KNOW = 0.148243 *PERSON+ 0.158479* PROD + 0.065414* MARK(4.925585)*** (5.160985)*** (2.487075)** +0.164024*FINANCE +(-7.94E-07) * INCOME + e1 (5.732495)*** (-0.591928)NS คุณสมบัติส่วนบุคคล (PERSON) ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (KNOW) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.1482 หมายความว่าคุณสมบัติส่วนบุคคลมีผลต่อตัวแปร KNOW ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อคะแนนคุณสมบัติส่วนบุคคลเปลี่ยนแปลงไป 1 คะแนน จะมีผลทำให้คะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปลี่ยนแปลงไป 0.1482 คะแนน

  49. ผลการศึกษา(ต่อ) • ผลการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธี Three Stage Least Squares KNOW = 0.148243 *PERSON+ 0.158479* PROD + 0.065414* MARK (4.925585)***(5.160985)***(2.487075)** +0.164024*FINANCE +(-7.94E-07) * INCOME + e1 (5.732495)*** (-0.591928)NS ศักยภาพด้านการผลิต (PROD) ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (KNOW) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.1584 หมายความว่าศักยภาพด้านการผลิตมีผลต่อตัวแปร KNOW ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือเมื่อคะแนนศักยภาพด้านการผลิตเปลี่ยนแปลงไป 1 คะแนน จะมีผลทำให้คะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปลี่ยนแปลงไป 0.1584 คะแนน

  50. ผลการศึกษา(ต่อ) • ผลการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธี Three Stage Least Squares KNOW = 0.148243 *PERSON+ 0.158479* PROD + 0.065414* MARK (4.925585)*** (5.160985)***(2.487075)** +0.164024*FINANCE +(-7.94E-07) * INCOME + e1 (5.732495)*** (-0.591928)NS ศักยภาพด้านการตลาด (MARK) ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (KNOW) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.0654 หมายความว่าศักยภาพด้านการตลาดมีผลต่อตัวแปร KNOW ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือเมื่อคะแนนศักยภาพด้านการตลาดเปลี่ยนแปลงไป 1 คะแนน จะมีผลทำให้คะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปลี่ยนแปลงไป 0.0654 คะแนน

More Related