1 / 16

การคิดเกรด อย่างถูกวิธี

การคิดเกรด อย่างถูกวิธี. โดยสำนักทะเบียนและประมวลผล. การประเมินผลการศึกษาใช้ระบบ “ ระดับคะแนน ” (Letter Grade) ซึ่งมีแต้มประจำระดับคะแนน (Grade Point) และความหมายดังต่อไปนี้ ระดับคะแนน แต้มประจำระดับคะแนน ความหมาย A 4.0 ดีเยี่ยม ( Excellent)

gyan
Télécharger la présentation

การคิดเกรด อย่างถูกวิธี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคิดเกรด อย่างถูกวิธี โดยสำนักทะเบียนและประมวลผล

  2. การประเมินผลการศึกษาใช้ระบบ “ระดับคะแนน” (Letter Grade) ซึ่งมีแต้มประจำระดับคะแนน (Grade Point) และความหมายดังต่อไปนี้ ระดับคะแนนแต้มประจำระดับคะแนนความหมาย A 4.0 ดีเยี่ยม (Excellent) B+ 3.5 ดีมาก (Very Good) B 3.0 ดี (Good) C+ 2.5 ค่อนข้างดี (Fairly Good) C 2.0 พอใช้ (Fair) D+ 1.5 ค่อนข้างอ่อน (Rather Poor) D 1.0 อ่อน (Poor) F 0 ตก (Failed)

  3. ในกรณีที่ไม่สามารถประเมินผลเป็นระดับคะแนนดังกล่าวได้ ให้ใช้สัญลักษณ์ดังต่อไปนี้ สัญลักษณ์ความหมาย S พอใจ (Satisfactory) U ไม่พอใจ (Unsatisfactory) V ผู้เข้าร่วมศึกษา (Visitor) W การถอนรายวิชา (Withdrawal) I ยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) P การศึกษายังไม่สิ้นสุด (In Progress)

  4. การคิดคำนวณแต้มเฉลี่ยการคิดคำนวณแต้มเฉลี่ย (Grade Point Average : GPA) 1. แต้มเฉลี่ยรายภาค (Semester Grade Point Average : SGPA) เป็นการคำนวนผลการศึกษาเพื่อหาแต้มเฉลี่ยประจำภาคการศึกษานั้น โดยคำนวนจากผลรวมของผลคูณของจำนวนหน่วยกิตกับแต้มประจำระดับ คะแนนที่ได้ในแต่ละวิชา หารด้วยจำนวนหน่วยกิตรวมที่ลงทะเบียนในภาคนั้น 2. แต้มเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average : CGPA) เป็นการคำนวณผลการศึกษาแต้มเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาจนถึง ภาคการศึกษาปัจจุบัน

  5. ตัวอย่าง FIRST SEMESTER 2001 BA 1203 PRIN. OF ACCOUNTING I 3 D CS 1003 INTRO. TO COMPUTER SCI. I 3 D GE 1022 INFORMATION TECH. FOR RETV 2 C+ GE 1043 THAI AND COMMUNICATION 3 C+ GE 1053 ENGLISH FOR COMMUNICATION 3 D+ GE 1072 HEALTH & QUALITY OF LIFE 2 B+ MA 1013 CALCULUS I 3 D 19 19 19 33.00 1.73SGPA 19 19 19 33.00 1.73 CGPA (CC) (CA) (CE) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- SGPA= (3x1)+(3x1)+(2x2.5)+(3x2.5)+(3x1.5)+(2x3.5)+(3x1) = 33.0 = 1.73 19 19 หมายเหตุCC (Credit Calculated) หมายถึง จำนวนหน่วยกิตที่เป็นตัวหาร CA(Credit Attempted) หมายถึง จำนวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียนทั้งหมด CE (Credit Earned) หมายถึง จำนวนหน่วยกิตที่สอบผ่านทั้งหมด

  6. SECOND SEMESTER 2001 CH 1233 PRIN. OF CHEMISTRY 3 C CH 1241 CHEMISTRY LABORATORY 1 F CS 1033 INTRO. TO COMPUTER SCI. II 3 C GE 1032 SCIENCE AND SOCIETY 2 C GE 1063 ENGLISH FOR COMMUNICAT II 3 D+ 12 12 11 20.50 1.70SGPA 31 31 30 53.50 1.72CGPA (CC) (CA) (CE) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ SGPA = (3x2)+(1x0)+(3x2)+(2x2)+(3x1.5) = 20.5 / 12 = 1.70 12 CGPA = 33.00 + 20.50 = 53.50 = 1.72 19 + 12 31

  7. ช่วยคิดหน่อยครับ ? FIRST SEMESTER 2002 CH 1241 CHEMISTRY LABORATORY 1 B CS 2323 DATA STRUCTURE & ALGORITHM 3 C+ CS 2503 INTRO. TO COMPUTER ORG. 3 B EG 2412 ENGLISH FOR SCIENCE AND TECH. 2 F IT 2713 TELECOMMUNICATION TECH. 3 B MG 1303 ORGANIZATION & MANAGEMENT 3 D+ 15 15 13 SGPA CGPA หมายเหตุ ในกรณีที่รายวิชาใดลงทะเบียนซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง การคิด CGPA ให้นำระดับคะแนนครั้งล่าสุดในรายวิชานั้นมาคำนวณ โดยจะต้องหักคะแนนสะสมและจำนวนหน่วยกิตที่เป็นตัวหารของรายวิชาเดิมออกไปก่อน

  8. เฉลย ! FIRST SEMESTER 2002 CH 1241 CHEMISTRY LABORATORY 1 B CS 2323 DATA STRUCTURE & ALGORITHM 3 C+ CS 2503 INTRO. TO COMPUTER ORG. 3 B EG 2412 ENGLISH FOR SCIENCE AND TECH. 2 F IT 2713 TELECOMMUNICATION TECH. 3 B MG 1303 ORGANIZATION & MANAGEMENT 3 D+ 15 15 13 33.002.20SGPA 45464386.501.92CGPA

  9. สถานภาพนักศึกษา มี 2 ประเภท คือ 1. นักศึกษาสภาพปกติ คือ นักศึกษาที่ได้แต้มเฉลี่ยสะสม (CGPA) ตั้งแต่ 1.75 ขึ้นไป 2. นักศึกษาสภาพรอพินิจ (Probation) คือ นักศึกษาที่ได้แต้มเฉลี่ยสะสม (CGPA) ตั้งแต่ 1.50 - 1.74 แต่ยังไม่พ้นสภาพนักศึกษา

  10. การพ้นสภาพนักศึกษา นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาภายใต้เงื่อนไขทางการเรียนดังนี้ - CGPA ต่ำกว่า 1.50 เมื่อสิ้นภาคการศึกษาปกติ ยกเว้น ภาคการศึกษาแรกของปีที่ 1 และภาคฤดูร้อน - CGPA ต่ำกว่า 1.75 สองภาคการศึกษาปกติติดต่อกัน ทั้งนี้ ไม่นับภาคการศึกษาแรกของปีที่ 1 และภาคฤดูร้อน - ไม่สามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด - ไม่มาลงทะเบียนเรียน หรือไม่ได้รักษาสถานภาพนักศึกษา ภายในเวลาที่กำหนด

  11. ควรทำอย่างไร เมื่อ CGPA ต่ำ

  12. 1. รีบพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อวางแผนการเรียนและลงทะเบียน เรียนในภาคการศึกษาต่อไป 2. เลือกรายวิชาที่นักศึกษาคาดว่าจะสามารถเรียนและได้ระดับ คะแนนดี โดยเฉพาะหมวดศึกษาทั่วไป เพื่อคำนวณ CGPA ให้พ้นจาก การเป็นนักศึกษาสถานภาพรอพินิจ 3. ในภาคการศึกษานั้น ลงทะเบียนเรียนไม่ต่ำกว่า 6 หน่วยกิตและไม่เกิน 15 หน่วยกิต ส่วนภาคฤดูร้อนไม่เกิน 6 หน่วยกิต

  13. ขั้นตอนการย้ายหลักสูตรสาขาวิชาขั้นตอนการย้ายหลักสูตรสาขาวิชา 1) นักศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์ขอย้ายและเงื่อนไขของการย้ายหลักสูตรสาขาวิชา @ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยฯ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2545 (ฉบับแก้ไข) หมวด 6 ข้อ 28 @ ตามประกาศมหาวิทยาลัยฯ ที่ 01/2546 เรื่องเกณฑ์เฉพาะและเงื่อนไขของการย้ายหลัก สูตรสาขาวิชาภายในคณะหรือนอกคณะ @ ตามประกาศมหาวิทยาลัยฯ ที่ 05/2546 เรื่องขั้นตอนในการปฏิบัติสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่มีความประสงค์ย้ายหลักสูตรสาขาวิชา(ยกเว้นนักศึกษาโครงการพิเศษ) 2)นักศึกษาเตรียมเอกสารเพื่อเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดังต่อไปนี้ @ มฉก.40 คำร้องย้ายหลักสูตรสาขาวิชาภายในหรือนอกคณะ (ขอรับที่สำนักทะเบียนฯ) @ ใบแสดงผลการศึกษา (GRADE REPORT)

  14. 3)อาจารย์ที่ปรึกษา/หัวหน้าสาขาเดิม3)อาจารย์ที่ปรึกษา/หัวหน้าสาขาเดิม @ อาจารย์ที่ปรึกษาเซ็นอนุมัติให้ย้ายสาขา @ เสนอขอความเห็นชอบจากหัวหน้าสาขา/คณบดี คณะเดิม @ ส่งคืนเอกสารให้นักศึกษานำเสนอต่อ หัวหน้าสาขา/คณบดี คณะใหม่ต่อไป 4)หัวหน้าสาขา/คณบดี คณะใหม่ @ หัวหน้าสาขา/คณบดี ตรวจสอบรายวิชาที่สามารถเทียบโอนได้ @ เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการประจำคณะ ที่ขอย้ายเข้า 5)นักศึกษายื่น มฉก.40 คำร้องย้ายหลักสูตรสาขาวิชาภายในคณะหรือนอกคณะ ที่ได้รับ อนุมัติจากสาขา/ คณะใหม่ ที่สำนักทะเบียนฯ @ กรณีที่เป็นนักศึกษาทุนต้องผ่านความเห็นชอบจากแผนกทุนก่อน

  15. 6)สำนักทะเบียนฯ ตรวจสอบความถูกต้องและเสนอขออนุมัติตามขั้นตอน 7)นักศึกษาชำระค่าธรรมเนียมการย้ายหลักสูตรสาขาวิชาภายในคณะหรือนอกคณะ ที่กองคลัง 8)สำนักทะเบียนฯ ดำเนินการดังต่อไปนี้ @ จัดทำใบแสดงผลการศึกษาฉบับใหม่ซึ่งแสดงรายวิชาที่เทียบโอนได้ @ แจ้งสรุปจำนวนนักศึกษาที่ย้ายหลักสูตรสาขาวิชาภายในคณะหรือนอกคณะ ไปยังคณะ/ สาขาวิชาเดิม และ คณะ/ สาขาวิชาใหม่

  16. สวัสดี ด้วยความปรารถนาดี จาก สำนักทะเบียนและประมวลผล

More Related