1 / 23

โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “ บริการฉับไว ไร้ความแออัด ” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา

โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “ บริการฉับไว ไร้ความแออัด ” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา. 27 มีนาคม 254 9. โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา. โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 503 เตียง. โรงพยาบาล ศูนย์ ขนาด 5 3 3 เตียง. 403 เตียงสามัญ 100 ห้องพิเศษ 2 9 ห้องตรวจ OPD 11 คลินิกพิเศษ

Télécharger la présentation

โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “ บริการฉับไว ไร้ความแออัด ” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาโรงพยาบาลโครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา 27มีนาคม 2549

  2. โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทราโรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา

  3. โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด503เตียง โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด533เตียง

  4. 403 เตียงสามัญ 100 ห้องพิเศษ 29 ห้องตรวจ OPD 11 คลินิกพิเศษ 1 คลินิกประกันสังคม 8 ห้องผ่าตัด 8 ผู้ป่วยหนักผู้ใหญ่ 8 ผู้ป่วยหนักเด็ก 8 เด็กแรกเกิดป่วย ฉุกเฉินและกู้ชีพ 24 ชั่วโมง

  5. อัตรากำลัง แพทย์ 55 คน แพทย์ใช้ทุน 20 คน ทันตแพทย์ 8 คน เภสัชกร 14 คน พยาบาลวิชาชีพ 364 คน พยาบาลเทคนิค 44 คน ข้าราชการอื่น ๆ 112 คน ลูกจ้างประจำ 182 คน ลูกจ้างชั่วคราว 379 คนรวม1,158 คน

  6. แพทย์เฉพาะทาง อายุรกรรม 5 ศัลยกรรม 6 สูติ - นรีเวชกรรม 7 กุมารเวชกรรม 7 ออร์โธปิดิกส์ 6 วิสัญญี 4 ประสาทศัลยศาสตร์ 2 ศัลยศาสตร์ยูโร 1 โสต ศอ นาสิก - จักษุ 3 ผิวหนัง 3 รังสี 2 เวชกรรมฟื้นฟู 1 จิตเวช 2 เวชศาสตร์ครอบครัว 5

  7. โครงสร้างการบริหารจัดการ CUP โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา (ประธาน CUP) รพ. เมืองฉะเชิงเทรา(2 O & 3O care) ประชากรทั้งจังหวัด 643,432 คน เขตเทศบาลเมือง (1 PCU) ดูแล 1Ocare ประชากร 39,846 คน สสอ. เมือง (21 สอ./ 9 PCU) ดูแล 1Ocare ประชากร101,660 คน สสอ. กิ่งอ.คลองเขื่อน (6 สอ./ 1 PCU) ดูแล 1Ocareประชากร13,614 คน

  8. สถิติผู้ป่วยนอก

  9. รายงานผู้ป่วยนอก รพ.เมืองฉะเชิงเทรา(ในเวลา+ER+นอกเวลา) เฉลี่ยผู้ป่วยนอกทั้งหมดของรพ.(ในเวลา+ER+นอกเวลา) - ปีงบประมาณ 2548 เท่ากับ 1,039 ราย/วัน (286 วันทำการ) - ปีงบประมาณ 2549 (ต.ค. – ธ.ค.) เท่ากับ 1,142 ราย/วัน

  10. รายงานผู้ป่วยนอกรพ.เมืองฉะเชิงเทราเฉพาะในเวลาไม่รวม ER ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี 2548 เท่ากับ 403 ราย/วัน ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี ต.ค. – ธ.ค.2548 เท่ากับ 406 ราย/วัน ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี ต.ค. – ธ.ค.2548 (ทั่วไป) 315 ราย/วัน

  11. แนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทราแนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • เพื่อลดความแออัดของผู้มารับบริการและผู้ป่วยนอกของรพศ. ฉะเชิงเทรา • เพื่อให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพแบบองค์รวม ครบทั้ง 4 มิติและใกล้บ้านใกล้ใจ • เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาของประชาชนผู้รับบริการ

  12. แนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทราแนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • เพื่อพัฒนารูปแบบหน่วยบริการปฐมภูมิที่สมบูรณ์แบบในอนาคตทั้งในแง่ บริหารบริการ วิชาการ และสามารถเชื่อมกับพลังประชาชน ใช้ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น พัฒนางานสาธารณสุขที่เน้นส่งเสริม ป้องกันมากกว่ารักษา ฟื้นฟูที่ยั่งยืน • เพื่อพัฒนางานบริการสุขภาพตติยภูมิให้มีคุณภาพทั้งเชิงกว้างและเชิงลึกมากขึ้น

  13. สถานที่ก่อสร้างโรงพยาบาลปฐมภูมิ เมืองฉะเชิงเทรา

  14. ประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทราประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • ต้องได้มาตรฐานงานบริการทั่วไป ไม่เป็นบริการผู้ป่วยนอกชั้น 2 เมื่อเทียบกับรพศ. ที่อยู่ติดกัน • ต้องมีจุดเด่นดึงดูดใจผู้มารับบริการที่ชัดเจน เช่น เน้นบริการแบบองค์รวม สะดวดรวดเร็วกว่ามารับบริการที่ รพศ. เป็น One stop service • ต้องกำหนดขอบเขตงานและกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการที่ชัดเจน เช่น UC ในเขตรับผิดชอบที่ป่วยเป็นโรคทั่วไป และเน้น PP

  15. ประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทราประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • ต้องมีโครงสร้างบุคลากรที่เป็นสหสาขาวิชาชีพที่เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ • ต้องมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดอย่างคุ้มค่า ไม่ซ้ำซ้อนกับโครงสร้างเดิม • ต้องมีระบบติดตามประเมินผล เพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป

  16. กลวิธีดำเนินการ • จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการจากสหสาขาวิชาชีพ • ศึกษาปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เกิดความแออัดของกลุ่มงานผู้ป่วยนอกและลักษณะปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการ • จัดสร้างอาคารตามแบบโรงพยาบาลชุมชน 30 เตียงจำนวน 1 อาคาร เพื่อเพิ่มพื้นที่การให้บริการผู้ป่วยนอกและจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิได้ครบวงจร • ปรับปรุงวิธีการจัดระบบบริหารผู้ป่วยนอก โดยใช้ระบบนัดหมาย การกระจายผู้มารับบริการตามความเหมาะสม

  17. กลวิธีดำเนินการ • พัฒนาระบบส่งกลับโรงพยาบาลชุมชนหรือสถานีอนามัยที่มีแพทย์ให้บริการสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมได้ • ประสานความร่วมมือกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาศักยภาพของสถานีอนามัยในด้านบุคลากร งบประมาณครอบคลุมทั้งงานด้านบริหาร บริการและจัดการ • เสริมสร้างความรู้ ความตระหนักตลอดจนทักษะของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว • คณะกรรมการประชุมติดตามผลความก้าวหน้าโครงการทุก 3 เดือน

  18. เป้าหมายระยะสั้น • เพิ่มพื้นที่ในส่วนที่เป็นงานบริการผู้ป่วยนอกมากขึ้น • ปรับระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้เหมาะสม • เพิ่มคุณภาพงานบริการผู้ป่วยนอกด้านการลดระยะเวลาและขั้นตอนการให้บริการ • สามารถจัดบริการที่ตอบสนองความจำเป็นกับสุขภาพของประชาชน • ประชาชนมีความพึงพอใจในงานบริการผู้ป่วยนอก

  19. เป้าหมายระยะยาว • ลดปริมาณผู้ป่วยนอกที่มารับบริการโดยไม่เหมาะสม • ประชาชนได้รับบริการที่สอดคล้องกับความจำเป็นด้านสุขภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการทั้งปฐมภูมิและตติยภูมิ • ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและใช้บริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

  20. ประชาชนเข้าใจและ ใช้ระบบปฐมภูมิ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

  21. สวัสดี

More Related