1 / 24

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ. โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS. มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร

hafwen
Télécharger la présentation

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจด้านสำรวจทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS • มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร • กล้อง CCD 4 แถบความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความละเอียด 30 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 711 กิโลเมตร • กล้อง Hyper-Spectrum (HSI) มีแถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความละเอียด 100 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum

  3. โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของดาวเทียม SMMS ดาวเทียม SMMS มีวงโคจรพาดผ่านประเทศไทยเกือบทุกวัน (รวม 20 รอบในเวลา 31 วัน แล้วจะวนรอบซ้ำอีกครั้ง) ซอฟต์แวร์สำหรับคำนวณวงโคจร

  4. ความครอบคลุมในการรับภาพถ่ายดาวเทียมของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ความครอบคลุมในการรับภาพถ่ายดาวเทียมของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์

  5. ภาพถ่ายดาวเทียมชุดแรกจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีทั้งสิ้น 18 ภาพ รับได้ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.44 น. (ครอบคลุมตั้งแต่ประเทศจีนตอนล่าง ถึงอินโดนิเซีย)

  6. ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOSช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMSช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  7. ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ ด้วยดาวเทียม SMMS 2009/11/10 2009/05/22 2009/03/06 2009/04/02 2009/11/14 2010/01/15 2010/01/04 2010/01/19 ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ

  8. ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI พื้นที่ตัวอย่าง ข้อมูลจากการแยกแยะด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI ข้อมูล Ground Truth จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT

  9. ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT

  10. ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์ created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop) ที่มา: งานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับกระทรวง ICT

  11. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 น. ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 17.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 18.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 16.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. ปริมาณน้ำฝนสะสม 24 ชั่วโมง

  12. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 น. ลุ่มน้ำย่อยห้วยน้ำริด ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 13 สิงหาคม 2553 เวลา 17.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 18.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 16.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. ระดับอ่อนไหวต่อดินถล่ม อ่อนไหวต่ำมาก อ่อนไหวปานกลาง อ่อนไหวต่ำ อ่อนไหวสูง อ่อนไหวสูงมาก

  13. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 22.00 น. 14สิงหาคม 2553 เวลา 00.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 23.00 น. ปริมาณน้ำฝนสะสม 24 ชั่วโมง

  14. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 20.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 19.00 น. ลุ่มห้วยแม่งอน ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 13สิงหาคม 2553 เวลา 21.00 น. 13 สิงหาคม 2553 เวลา 22.00 น. 14สิงหาคม 2553 เวลา 00.00 น. 13สิงหาคม 2553 เวลา 23.00 น. ระดับอ่อนไหวต่อดินถล่ม อ่อนไหวต่ำมาก อ่อนไหวปานกลาง อ่อนไหวต่ำ อ่อนไหวสูง อ่อนไหวสูงมาก

  15. การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อดินถล่มด้วยภาพถ่ายดาวเทียม: ความลาดชันของพื้นที่ ตัวอย่าง Slop Image ณ บริเวณดอยอินทนนท์ ตัวอย่างการจำแนกความลาดชันที่มากกว่า 35 องศา บริเวณดอยอินทนนท์ ในรูปแบบ 2 มิติ (ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ในวันที่ 4 มีนาคม 2553) ที่มา: งานวิจัยของศูนย์ฯ ให้กับศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

  16. ที่มา: ตัวอย่างงานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์ฯ กับสำนักงานฝนหลวง

  17. ตัวอย่างงานวิจัย ในการติดตามสภาพการใช้ประโยชน์พื้นที่ชลประทานของเขื่อนแควน้อย (ร่วมกับกรมชลประทาน)

  18. Thank You for Your Attention Question?? facebook.com/SMMSThailand

More Related