1 / 24

การนำเสนอผลงานวิจัยส่วนที่ 4 การใช้ประโยชน์สมุนไพร และของป่า

การนำเสนอผลงานวิจัยส่วนที่ 4 การใช้ประโยชน์สมุนไพร และของป่า. องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยเทพทาโร จากจังหวัดพังงาและสงขลา ทรรศนีย์ พัฒนเสรี นำเสนอในการประชุมวิชาการด้านป่าไม้ “เทคโนโลยีด้านป่าไม้เพื่อประชาชน” วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554 ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้.

hamish
Télécharger la présentation

การนำเสนอผลงานวิจัยส่วนที่ 4 การใช้ประโยชน์สมุนไพร และของป่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอผลงานวิจัยส่วนที่ 4การใช้ประโยชน์สมุนไพร และของป่า องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยเทพทาโร จากจังหวัดพังงาและสงขลา ทรรศนีย์ พัฒนเสรี นำเสนอในการประชุมวิชาการด้านป่าไม้ “เทคโนโลยีด้านป่าไม้เพื่อประชาชน” วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554 ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้

  2. ทรรศนีย์ พัฒนเสรี กลุ่มงานพัฒนาผลิตผลป่าไม้ สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ องค์ประกอบทางเคมีในน้ำมันหอมระเหยเทพทาโร จากจังหวัดพังงาและสงขลา

  3. เทพทาโร ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพังงา วงศ์ Lauraceae ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. C. parthenoxylon Meissn. และ C. glanduliferum Nees ภาคกลางและตะวันออกเรียกเทพทาโร ภาคใต้เรียกจวงหรือจวงหอม ภาคเหนือเรียกจะไคต้น จะไคหอม หรือพลูต้นขาว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกการบูร

  4. ลักษณะโดยทั่วไป เปลือกแตกเป็นร่องตามยาวลำต้นสีเขียวอมเทาหรือน้ำตาล ดอกเป็น ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ 10-30 ม.เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ช่อกระจุกสีขาวหรือขาวอมเหลือง ใบเดี่ยวออกตรงข้าม ผิวใบเกลี้ยงเขียวเป็นมัน ด้านล่างเขียวอมเทา ผลกลมเล็ก 0.5-0.7 ซม. สีเขียว สุกเป็นสีม่วงเข้มถึงดำ ตอรากไม้และเนื้อไม้

  5. ประโยชน์ของเทพทาโร เนื้อไม้ ยาแก้ท้องร่วง หอบหืด แก้อาเจียน ก่อสร้าง ทำเครื่องเรือน แกะสลัก เศษไม้ ทำธูป กำยาน กลั่นน้ำมันหอมระเ หย ใบและผล กลั่นน้ำมันหอมระเหย ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสด ใส่ในแกงมัสมั่น แทนใบกระวาน ชงเป็นชาดื่มขับลมในท้อง แก้ท้องอืด

  6. มูลค่าทางเศรษฐกิจของไม้เทพทาโร

  7. วิธีการศึกษา กลั่นด้วยน้ำ

  8. น้ำมันหอมระเหยจากเนื้อไม้ ผลดิบและผลสุก การวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมี เครื่องแกสโครมาโตกราฟที่ต่อกับเครื่องแมสสเปคโตรมิเตอร์ (GC-MS)

  9. - อุณหภูมิเริ่มต้นที่ 50 º ซ 3 นาที - เพิ่มขึ้น 5 º ซ/นาที จนกระทั่งถึง 250 º ซ - ให้อุณหภูมิของหัวฉีดตัวอย่างน้ำมันและเครื่องตรวจจับเป็น 250 º ซ - ใช้แก็สฮีเลียมอัตราการไหล 1.0 มล./นาที - เตรียมตัวอย่างน้ำมันเทพทาโรโดยการเจือจางในตัวทำละลาย เฮกเซน (Hexane) ให้เป็น 1 เปอร์เซ็นต์ ฉีดเข้าเครื่องวิเคราะห์ปริมาณครั้งละ 1 ไมโครลิตร

  10. - บันทึกแมสสเปกตรัมในแบบ EI ที่พลังงานแตกตัว 70 eV ตรวจจับมวลในช่วง 30-400 amu. - ตรวจพิสูจน์องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันโดยการเปรียบเทียบ retention times และ mass spectra ของสารที่ได้กับค่ามาตรฐานที่มีการบันทึกไว้

  11. ผลการศึกษา Table 1 Percent yield of volatile oils

  12. ผลการศึกษา (ต่อ)

  13. Table 2 Chemical constituents of volatile oils with lemom grass odor

  14. Table 3Chemical constituents of volatile oils with root beer odor

  15. Table 4 Chemical constituents of volatile oils with cajuput odor and flower odor

  16. Table 4Chemical constituents of volatile oils with cajuput odor and flower odor (continue)

  17. Table 5 Chemical constituetion of volatile oil from fruit and wood

  18. ประโยชน์ของ Safrole ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย -Staphylococcus aureus - S. mutans - Bacillus subtilus - Escherichia coli - Pseumonas aeruginosa

  19. ฤทธิ์ต้านเชื้อรา - Candida albican - C. neoformans ฤทธิ์ต้าน Dermatophyte - Trichophyton rubrum - T. mentagrophytes - Microsporum.gypseum

  20. ประโยชน์ของ 1,8-cineole และ Citral • - มีฤทธิ์แก้ปวดเมื่อย • ฆ่าเชื้อโรคที่ผิวหนังและเชื้อรา • มีฤทธิ์ฆ่าแมลง • ใช้ในเครื่องสำอางและ aroma ประโยชน์ของ Linalool ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางและเครื่องประทินผิว

  21. สรุป ปริมาณผลผลิตน้ำมัน ผลเทพทาโรให้ปริมาณน้ำมันหอมระเหยมากที่สุด 3.50 – 10.54 เปอร์เซ็นต์เทียบกับน้ำหนักอบแห้ง เนื้อไม้ให้ปริมาณน้ำมันหอมระเหยมากรองลงมา 3.85 เปอร์เซ็นต์เทียบกับน้ำหนักอบแห้ง ใบให้ปริมาณน้ำมันหอมระเหยน้อยที่สุด 0.43 – 0.72 เปอร์เซ็นต์เทียบกับน้ำหนักอบแห้ง

  22. สรุป (ต่อ) • น้ำมันหอมระเหยจากเนื้อไม้มีกลิ่นรูทเบียร์เท่านั้นองค์ประกอบหลักทางเคมีเป็นแซฟรอล 93.58 % • น้ำมันจากใบและผลเทพทาโรมีกลิ่นแตกต่างกัน 4 กลิ่น คือ • กลิ่นรูทเบียร์ • กลิ่นคล้ายตะไคร้ผสมส้ม • กลิ่นคล้ายน้ำมันเสม็ดขาว • กลิ่นหอมของดอกไม้ผสมกลิ่นเครื่องเทศ

  23. คำขอบคุณ ขอขอบคุณ คุณสมบูรณ์ บุญยืน นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ คุณจันไท จิตรจักร นักวิทยาสาสตร์ชำนาญการ คุณชานนท์ วงศ์จำปา ผู้ช่วยนักวิจัย คุณธิญาดา ธุรารัตน์ ผู้ช่วยนักวิจัย คุณกมลวรรณ์ สมอ๊อด ผู้ช่วยนักวิจัย

  24. ขอขอบคุณ และ สวัสดี

More Related