70 likes | 195 Vues
ตัวชี้วัดที่ 30.1 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับประเทศต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับประเทศ 38 บทความ
E N D
ตัวชี้วัดที่ 30.1 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับประเทศต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน • (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) • มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับประเทศ 38 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท 31 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก 8 บทความ • ทั้งนี้การศึกษาในระดับปริญญาโท มีทั้งแผน ก. และ แผน ข. เฉพาะแผน ก. ที่กำหนดให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ และหลักสูตรส่วนใหญ่มิได้บังคับให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์เป็นเงื่อนไขในการสำเร็จการศึกษา X 100
ตัวชี้วัดที่ 30.2 ร้อยละของจำนวนวิทยานิพนธ์(ปริญญาโท/ปริญญาเอก)ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับนานาชาติต่อจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 8,294 คน • (ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก) • มีบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ 65 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท 26 บทความ • - บทความวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก 39 บทความ • ทั้งนี้การศึกษาในระดับปริญญาโท มีทั้งแผน ก. และ แผน ข. เฉพาะแผน ก. ที่กำหนดให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ และหลักสูตรส่วนใหญ่มิได้บังคับให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์เป็นเงื่อนไขในการสำเร็จการศึกษา X 100
ตัวชี้วัดที่ 35 ร้อยละของจำนวนอาจารย์และบุคลากรที่เป็นที่ปรึกษา กรรมการวิชาการ วิชาชีพ กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอก ต่อจำนวนอาจารย์ประจำทุกระดับ • ในปีการศึกษา 2547 มีอาจารย์ประจำ 1,263 คน • มีจำนวนการเป็นที่ปรึกษา กรรมการวิชาการ วิชาชีพ 1,015 ชุด กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอก X 100
ตัวชี้วัดที่ 36 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านระบบประกันคุณภาพภายใน สามารถดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ดังนี้
ตัวชี้วัดที่ 38 ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ในปีการศึกษา 2547 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีการจัดกิจกรรมในการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และระดับคณะ/สำนัก/สถาบัน รวม 272 กิจกรรม X 100
กิจกรรมที่สำคัญ ได้แก่ - โครงการโขนธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ชุด “อัครนารีสีดา” - สาธิตปี่พาทย์ประชันวงเชิดชูคุณูปการพระยา เสนาะดุริยางค์ (แช่ม) - โครงการสัมมนาทางวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ เรื่อง “ความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน” - กิจกรรมของฝ่ายการนักศึกษาที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เช่น พิธีไหว้ครู - กิจกรรมของสำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม เช่น การอบรมพระสงฆ์ผู้นำในการพัฒนา สังคมไทยที่ยังยืน ศิลปวัฒนธรรม : ชมวัด ไหว้พระ ฟังธรรม - กิจกรรมของคณะ/สำนัก/สถาบัน เช่น งานสืบสานตำนานศิลป์ - กิจกรรมวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เช่น โครงการจัดทำ ฐานข้อมูลลายผ้าไทยที่มีอายุมากกว่า 50 ปี วิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม เรื่อง “ภูมิปัญญาบูรณาการ บนฐานคิดพุทธปรัชญากับยุทธศาสตร์ ทางเลือกในการพัฒนาสังคม”