1 / 45

การจำแนกประเภทผู้ป่วย Emergency severity Index: ESI Triage

การจำแนกประเภทผู้ป่วย Emergency severity Index: ESI Triage. นางอภิวัน ชาวดง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ. ความหมายของการจำแนกประเภทผู้ป่วย.

hanzila
Télécharger la présentation

การจำแนกประเภทผู้ป่วย Emergency severity Index: ESI Triage

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจำแนกประเภทผู้ป่วยEmergency severity Index: ESI Triage นางอภิวัน ชาวดง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

  2. ความหมายของการจำแนกประเภทผู้ป่วยความหมายของการจำแนกประเภทผู้ป่วย • Triage (ธีรอาช) หมายถึงการคัดแยก การจัดกลุ่ม การจำแนกผู้ป่วย ในโรงพยาบาล เพื่อค้นหาว่ารายใดเจ็บป่วยรุนแรง เร่งด่วนที่สุด และรายใดสามารถรอคอยได้ เพื่อรักษาก่อนตามความเร่งด่วน ให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิต ลดความพิการ ผู้ป่วยภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างเหมาะสม ได้แก่ เวลา สถานที่ เครื่องมือและผู้ดูแล

  3. วัตถุประสงค์ของการจำแนกประเภทผู้ป่วย 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจรักษาพยาบาลตามความเร่งด่วน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยภาวะเร่งด่วนที่คุกคามชีวิต ได้รับการรักษาได้รวดเร็ว ทันเวลา 3. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการประเมินและส่งต่อได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อควบคุมการหมุนเวียนของผู้ป่วย ลดการคับคั่งของผู้ป่วย 5. เพื่อลดระยะเวลาในการรอคอย 6. เพื่อลดความเครียดของผู้ป่วย ญาติ และผู้ให้บริการ

  4. รูปแบบการจำแนกประเภทผู้ป่วยรูปแบบการจำแนกประเภทผู้ป่วย

  5. การจำแนกแบบ 5 ระดับ

  6. 1.Australian triage scale 1994 ข้อดี • ระดับ level สัมพันธ์กับ injury severity score อื่นๆ ด้วย เช่น trauma score สัมพันธ์กับอัตราการนอนรพ. และอัตราตาย ปัญหาและอุปสรรค • จำตารางไม่ได้ ข้อมูลเยอะมาก • ใช้เวลานาน

  7. 2. Manchester triage system 1997 • แพร่หลายในอังกฤษ แบ่งเป็น 52 chief complaint แล้ว triage ย่อยลงไปแต่ละ chief complaint ข้อดี : ละเอียด ปัญหาและอุปสรรค • ต้องเปิดหนังสือ • เปิดไม่ทัน • สับสน • ใช้เวลานาน

  8. 3.Canadian triage acuity scale 1999ความเร่งด่วนในการรักษาคล้ายAustralian triagescaleแต่มีมาตรวัดความเจ็บปวดและแบ่งระดับความรุนแรงของผู้ใหญ่แยกจากเด็ก

  9. ลักษณะระบบ การจำแนกประเภทผู้ป่วย ที่มีประสิทธิภาพ • ในหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ที่ได้ผลดี ควรประกอบด้วย 1. สามารถคัดแยกผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนได้อย่างรวดเร็ว 2. สามารถจัดระเบียบการไหลเวียนของผู้มาใช้บริการ 3. สามารถให้คำแนะนำแกผู้มาใช้บริการและญาติ ลดความขัดแย้ง และความไม่พึงพอใจได้

  10. 4. ESI การคัดแยกระดับความฉุกเฉิน( Emergency severity index )1999 2012 คิดค้นโดย Richard Wuerz , David Eitelตั้งแต่ปี 1999 • ข้อดี:ใช้ง่าย ไม่ต้องจำ ใช้เวลาสั้น สัมพันธ์กับ outcome ต่างๆ • ปัญหาและอุปสรรค:รองานวิจัยที่มากขึ้นเพื่อ รองรับเป็น triage มาตรฐานสากล

  11. ลักษณะการ Triage ที่ดี • ง่าย (simply) • เร็ว (rapid) • ถูกต้อง (validity) • มาตรฐานเห็นตรงกัน (reliability)

  12. ED Triage R E U SU N

  13. หลักเกณฑ์การประเมินการจำแนกประเภทผู้ป่วย ESI 5 ระดับ • Emergency severity index ย่อว่า ESI คิดค้น โดย Richard Wuez และ David Eitel • มีการใช้แพร่หลายใน สหรัฐอเมริกาและทั่วโลกต่อมา • หลักการ ของ ESI ตามแผนผัง ในประเทศไทย • มีการ นำระบบ ESI ใช้งาน แล้วประกาศออกมา ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินนำมาเป็น หลักเกณฑ์การประเมินเพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉินเนื่องจากปริมาณ ผู้ป่วยที่ใช้บริการฉุกเฉิน มีจำนวนที่มาก • ESI เป็นระบบคัดกรองที่รวดเร็ว ทำได้ง่าย และความผิดพลาดน้อย การทำงานของระบบ ESIอยู่กับเวลา แต่ขึ้นอยู่กับ Resource เป็นหลัก

  14. Algorithm (แผนภูมิช่วยตัดสินใจ) ใช่ Level 1 ต้องการช่วยเหลือ ABCD อย่างเร่งด่วนหรือไม่? ใช่ ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินโดยเร็วหรือไม่? Level 2 แนวโน้มต้องทำกิจกรรมกี่อย่าง? ไม่มี 1 อย่าง มากกว่า 1 อย่าง ใช่ Danger zone vital signs <3 m(T>38) >180 >50 3m -3 ปี >160 >40 3-8 ปี >140 >30 >8 ปี >100 >20 <92% PR RR SpO2 Level 5 Level 4 ไม่ใช่ Level 3

  15. Thai ED Triage tag card 2012

  16. ระดับ Resuscitation ประเมินด้วยความรวดเร็ว ภายใน 1 นาที

  17. การประเมิน A : Airway • ได้แก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่อง airway breathing circulation อย่างรุนแรง • หายใจโครกคราก ใส่ ETT • FB อุดตัน ที่ส่งผลต่อการหายใจ • ประเมินว่าพูดได้หรือไม่ ออกเสียงได้หรือไม่ มีเสียงผิดปกติ เสียงแหบ เสียงกรน • กระสับกระส่าย สับสน ก้าวร้าว หน้าเขียว ปลายมือปลายเท้าเขียวคล้ำ R

  18. การประเมิน A : Airway • บวมใบหน้าจากอุบัติเหตุและ ทำให้เกิดการแตกหักของ กระดูกใบหน้ามีเลือดออก สารคัดหลั่งมาก ฟันหัก กระดูกกรามบวมผิดรูป • คอบวม มีบาดแผลลำคออย่างชัดเจน trachea เบี้ยว คลำได้ลมชั้นใต้ผิวหนัง คลำพบกรอบแกรบบริเวณลำคอ • มีคราบเขม่าในรูจมูกจากการถูกไฟไหม้ • อาการแพ้จากพิษต่างๆ ผื่นบวมใบหน้า ปาก R

  19. การประเมิน B : Breathing • เป็นการประเมินว่าต้องการช่วยเหลือการหายใจอย่างเร่งด่วนหรือไม่ การหายใจและแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอหรือไม่ ขึ้นกับการทำงานของปอด ผนังทรวงอกและกระบังลมที่ดี ต้องการความช่วยเหลือโดยการใส่ท่อช่วยหายใจ การใส่ ICD สามารถประเมินได้จาก • ต้องการออกซิเจนมากกว่า การให้ทาง cannular • chest movement ไม่เท่ากัน R

  20. การประเมิน B : Breathing • หายใจลำบากใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วยในการหายใจ • หายใจหอบเหนื่อย (air hunger) • หายใจตื้น หายใจเป็นเฮือก • หายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ <10 ครั้งต่อนาที หรือ >40 ครั้งต่อนาที • Sp O2 drop มาก <60% R

  21. การประเมิน B : Breathing • อุบัติเหตุอกกระแทก ทรวงอกเคลื่อนไม่เท่ากัน (อาจเป็น pneumo / hemothoraxอาจต้องใส่ ICD • พบ neck vein engore • มีบาดแผลบริเวณทรวงอก อกยุบ อกรวน บาดแผลภายนอกจากการถูกแทง ยิง ของมีคม • แพ้ ปากบวม หายใจลำบาก (anaphylaxis) R

  22. การประเมิน c : Circulation • เป็นการประเมินว่าผู้ป่วยต้องการ การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนโดยการกดนวดหัวใจ ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ ให้ยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ ห้ามเลือดหรือให้สารน้ำอย่างเร่งด่วน มิเช่นนั้นจะทำให้เสียชีวิตได้ ประเมินจาก • ภาวะหัวใจหยุดเต้น • P เร็วมากๆ BPต่ำ (อาจเป็น VT, SVT,AF ที่อาจต้อง cardioversion) • P ช้ามากๆ BPต่ำ (อาจเป็น Heart block) R

  23. การประเมิน c : Circulation • เจ็บแน่นหน้าอก (AMI) ที่เหงื่อแตก ตัวเย็น (poor perfusion)P <40 ครั้งต่อนาที หรือ >140 ครั้งต่อนาที • Shock (ซึม เหงื่อแตก ตัวเย็น ชีพจรเบา) • Multiple trauma ที่ซีดมาก • BP drop ,Active bleeding เหงื่อออก ตัวเย็น • BP drop และ neck vein แฟบ จากภาวะ hypovolemia R

  24. การประเมิน D : Disability • เป็นการประเมินความผิดปกติด้านระบบประสาทว่าผู้ป่วยรายนั้นต้องการการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน : ดูแล ทางเดินหายใจ การหายใจและให้ออกซิเจน อาจทำให้เสียชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว • ประเมินจาก A: Alert V: Verbal P: Pain U: Un response • หากประเมินพบว่าผู้ป่วย U ให้จัดเป็น ระดับ Resuscitation หรือประเมิน coma scale <8 ต้องช่วยใส่ETT • status epilepticus R

  25. หากประเมินแล้ว ABCD ผ่านให้ประเมินใน กรอบลำดับต่อไป

  26. ระดับ Emergency มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ถือเป็น Emergency • High risk situation (มีความเสี่ยงหากให้รอ) • Acute alteration of consciousness (ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง) • Severe pain & distress & pain score > 7 (ปวดมาก+ กระสับกระส่าย + pain score > 7) เสี่ยง , ซึม , ปวด

  27. ตัวอย่าง case Emergency • Chest pain (มีความเสี่ยงหากให้รอ เพราะต้องรีบประเมิน EKG) • หายใจเหนื่อยหอบ (มีความเสี่ยงหากให้รอ เพราะต้องรีบตรวจร่างกาย ฟังปอด พ่นยา) • Stroke , MI (มีความเสี่ยงหากให้รอ) (กรณี fast track ถือเป็น Emergency แบบ fast track) • ผู้ป่วยอาละวาด, acute psychosis , ฆ่าตัวตาย (มีความเสี่ยงหากให้รอ เพราะมีโอกาสทำร้ายร่างกายตัวเองและผู้อื่น)

  28. ตัวอย่าง case Emergency • ผู้ป่วยกินสารพิษ (มีความเสี่ยงหากให้รอ) • MCA กู้ชีพนำส่ง on spinal board รู้ตัวดี แต่บ่นปวดท้อง (มีความเสี่ยงหากให้รอ เพราะต้องรีบทำ FAST) • Head injury ,GCS <15 (ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง) • UGIH pulse เร็ว (มีความเสี่ยงหากให้รอ เพราะ pulse เริ่มเร็ว) • ไข้สูง ซึมลง (sepsis) (มีความเสี่ยงหากให้รอ , ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง)

  29. ตัวอย่าง case Emergency • เลือดออกช่องคลอด abortion (มีความเสี่ยงหากให้รอ) • Peritonitis, ruptured appendicitis (มีความเสี่ยงหากให้รอ) • AAA ปวดท้อง แต่ V/S ยังปกติดี (มีความเสี่ยงหากให้รอ) • ซึม สับสน แต่ยังไม่ถึงขนาด semi coma (ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง)

  30. ตัวอย่าง case Emergency • ผู้ป่วยปวดมาก pain score > 7 (ซึ่งต้องรีบประเมิน ตรวจร่างกาย และอาจต้องรีบฉีดยา) • กรด ด่างกระเด็นเข้าตา (ซึ่งจำเป็นต้องล้างตาอย่างรวดเร็ว) • เด็ก<3 เดือน ไข้ >38 C (ตาม algorithm) • ผื่นลมพิษทั้งตัว(ต้องรีบตรวจร่างกาย ฟังปอด)

  31. กรณีตัวอย่าง pain score • อาจต้องดูความสมเหตุสมผล และอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บด้วย • *** ต้องประเมินจากสีหน้าผู้ป่วยร่วมด้วย *** • ปวดท้องลิ้นปี่มาก pain score 8 (สมเหตุสมผล) emergency • ปวดหัวมาก pain score 8  emergency (สมเหตุสมผล)

  32. กรณีตัวอย่าง pain score • ของหนักตกใส่นิ้วหัวแม่เท้า มี open Fxปลายหัวแม่เท้า pain score 8 (เนื่องจากอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บไม่รุนแรง อาจหักลบ 1 level)  urgency • ฟันผุ ปวดฟันมาก pain score 8 (เนื่องจากฟันผุ เป็นอวัยวะที่ไม่รุนแรง อาจหักลบ 1 level)  urgency

  33. หากการประเมินความเสี่ยง ซึม ปวด ไม่พบให้ประเมินกรอบลำดับต่อไป Level 2 แนวโน้มต้องทำกิจกรรมกี่อย่าง? ไม่มี 1 อย่าง มากกว่า 1 อย่าง ใช่ Danger zone vital signs <3 m(T>38) >180 >50 3m -3 ปี >160 >40 3-8 ปี >140 >30 >8 ปี >100 >20 <92% PR RR SpO2 Level 5 Level 4 ไม่ใช่ Level 3

  34. แนวโน้มการทำกิจกรรม แนวโน้มต้องทำกิจกรรมกี่อย่าง? ไม่มี 1 อย่าง มากกว่า 1 อย่าง

  35. แนวโน้มการทำกิจกรรม • เพียงแค่นับว่า ไม่มี , 1 , หรือ มากกว่า 1 ก็พอ • ไม่มีความจำเป็นต้องนับกิจกรรมให้ครบ • CBC, BUN/Cr,E’lyte ,G/M ถือว่าเป็นการเจาะเลือดทั้งสิ้น นับแค่ 1 อย่าง • UA , UPT เป็นการตรวจปัสสาวะเหมือนกัน นับแค่ 1 อย่าง

  36. แนวโน้มการทำกิจกรรม • CBC + UA ถือเป็น lab เหมือนกัน นับเป็น 1 อย่าง • CXR, lateral C-spine , plain KUB ถือว่าเป็น x-ray ทั้งสิ้น นับแค่ 1 อย่าง

  37. แนวโน้มการทำกิจกรรม • CXR , CT scan ถือว่าเป็นคนละอย่างกัน นับเป็น 2 อย่าง • FB เข้าหู ต้องคีบออก นับเป็น 1 อย่าง • อุบัติเหตุ แผลฉีกที่ขา 5 cm บวมมาก ดูแล้วอาจต้อง x-ray หรือเย็บแผล นับเป็น 2 อย่าง

  38. แนวโน้มการทำกิจกรรม • ฉีดยา IM นับ 1 อย่าง • ERIG หรือ HRIG นับ 1 อย่าง • ข้อสังเกต : คนไข้ที่ admit ส่วนใหญ่มักจะเกิน 1 อย่าง • ไม่จำเป็นต้องแยกว่า กิจกรรมนั้นจะทำที่ ER หรือ ward • ย้ำว่าสนใจแค่ ทำ 0 อย่าง , 1 อย่าง หรือ มากกว่า 1 อย่าง

  39. กิจกรรมที่ไม่นับ • ทำแผล • ฉีด TT , verolab, PCEC • Hct, DTX, • ยารับประทานกลับบ้าน • Sling, splint , cold-pack

  40. case urgency (ทำกิจกรรมมากกว่า 1 อย่าง) • ไข้ ปวดท้องน้อยด้านขวา (Acute appendicitis) (CBC + UA + consult, admit ฯลฯ) • ปวดท้องลิ้นปี่ ดื่มสุราประจำ (Acute pancreatitis) ( Lab+ ฉีดยาฯลฯ) • RUQ pain (gall stone) ปวด 6 แต้ม (ฉีดยา + ultrasound+ฯลฯ) • ไหล่หลุด (x-ray , ดึงไหล่ , ฉีดยา)

  41. case urgency (ทำกิจกรรมมากกว่า 1 อย่าง) • บวมผิดรูปหน้าแข้ง (film + ใส่เฝือก) • แผลฉีกขนาดใหญ่ แต่บวมมาก (เย็บแผล + x-ray) • Diarrhea with dehydration(iv fluid , + ส่งตรวจเลือดฯลฯ) • ข้อเท้าพลิก บวมผิดรูป สงสัย Fx(x-ray, ใส่เฝือก) • แผลที่กระจกตา : (ต้อง consult + ฯลฯ)

  42. ตัวอย่าง case Semi-urgency • แผลฉีกที่อาจต้องเย็บ • ข้อเท้าพลิก ไม่ผิดรูป บวมเล็กน้อย (x-ray) • ปัสสาวะแสบขัด ไม่มีไข้ (UA) • ปัสสาวะไม่ออก ต่อมลูกหมากโต (retained foley’s) • ปวดฟัน แนวโน้มที่ต้องฉีดยา • ปวดท้องลิ้นปี่ โรคกระเพาะ แนวโน้มที่ต้องฉีดยา

  43. ตัวอย่าง case Non-urgency • HT ยาหมด • ไอ เจ็บคอ ผู้ป่วย look well • ปวดหัวไมเกรนเล็กน้อย • ปวดท้องลิ้นปี่เล็กน้อย • ปวดหลังเล็กน้อย • ถ่ายเหลวเล็กน้อย • ผิวหนังอักเสบ • แผลถลอกเล็กน้อย

  44. งานกลุ่ม • แบ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม • ปรับเพิ่มข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องประเมิน ลงในผังการจำแนกประเภทผู้ป่วย ที่ชัดเจนมากขึ้น ในบริบทของโรงพยาบาลเถิน • 40 นาที • กลุ่มนำเสนอ 10 นาที (กลุ่มละ 5 นาที) • สรุปการนำผังการจำแนกไปทดลองใช้ 10 นาที

  45. THANK YOU

More Related