1 / 95

ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ

ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 (ข้อ 6) - ซักซ้อมความเข้าใจ ประเด็นข้อผิดพลาดจากผลการสอบ ทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยบริการ.

hedda
Télécharger la présentation

ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ

  2. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 (ข้อ 6) - ซักซ้อมความเข้าใจ ประเด็นข้อผิดพลาดจากผลการสอบ ทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยบริการ

  3. เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index : FAI)

  4. การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 1. จัดทำการประเมิน 5 องค์ประกอบ (ส่วนงานย่อย) ลงในแบบ ปย.1 2. ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ในแบบ ปย.2 3. ประมวล ปย.1 จากข้อ 1 และประเมินเพิ่มเติม สรุปลง แบบ ปอ.2 4. สรุปผล จากข้อ 2 ลงในแบบ ปอ.3 5. จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.1 6. จัดทำรายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน (ปส.) 7. ติดตามประเมินผลรอบ 6, 9, 12 เดือน

  5. ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมหน่วยรับตรวจผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมหน่วยรับตรวจ การควบคุมกลยุทธ์ กรม ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบายการจัดวาง ประเมิน และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมภายใน ควบคุมการบริหารโครงการ สสจ./รพศ./รพท./รพช. ผู้บริหารระดับกลาง จัดให้มีการวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน ควบคุมการปฏิบัติงาน กลุ่มงาน / ฝ่าย ผู้บริหารระดับต้น จัดวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน การปฏิบัติงาน ทุกหน่วยงาน/ระดับตามโครงสร้าง ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติและแจ้งจุดอ่อน การควบคุมภายใน การควบคุมภายใน : ผู้รับผิดชอบ

  6. การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6

  7. การประเมินผลการควบคุมภายในการประเมินผลการควบคุมภายใน ประเมิน 5 องค์ประกอบ ปย.1 (ส่วนงานย่อย) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ปย.2 (ส่วนงานย่อย) แบบ ปส. (ผู้ตรวจสอบภายใน) ประเมิน 5 องค์ประกอบ ปอ.2 (หน่วยรับตรวจ) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ปอ.3 (หน่วยรับตรวจ) หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.1

  8. วัตถุประสงค์ การควบคุม • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • การดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ • ของรายงาน • ทางการเงิน • การปฏิบัติตาม • ข้อกำหนด การควบคุมภายใน : องค์ประกอบ องค์ประกอบ ของการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง การติดตาม ประเมินผล กิจกรรม การควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม

  9. ชื่อส่วนงานย่อย รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบ ปย. 1 ผลการประเมินโดยรวม.................................................................................................................................................................. ชื่อผู้รายงาน............................................................ (ชื่อหัวหน้าส่วนงานย่อย) ตำแหน่ง................................................................. วันที่....................เดือน.........................พ.ศ. .........

  10. การบริหารความเสี่ยง • โครงสร้าง • ระบบงาน • คน • ทรัพย์สิน • งบประมาณ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง วิเคราะห์/จัดลำดับ ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบ อย่างไร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การประเมินความเสี่ยง ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

  11. ชื่อส่วนงานย่อย รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบ ปย.2

  12. ชื่อหน่วยรับตรวจ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่..........เดือน.....................พ.ศ............ แบบปอ.3 รายการปรับปรุงที่สำคัญที่ส่วนงานย่อยไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ ถ้าส่วนงานย่อยแก้ไขเองได้ไม่ต้องนำมาลงในช่องนี้

  13. ขั้นตอนที่ 2 จัดทำความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปอ.1) เรียน (คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน / ผู้กำกับดูแล / คณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ) ___(ชื่อหน่วยรับตรวจ)..... ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่...... เดือน.................... พ.ศ. …... ด้วยวิธีการที่(ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาดความเสียหายการรั่วไหลการสิ้นเปลืองหรือการทุจริตด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและการดำเนินงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับมติคณะรัฐมนตรีและนโยบายซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ(ชื่อหน่วยรับตรวจ)สำหรับปีสิ้นสุดวันที่......เดือน..................... พ.ศ. ....... เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก (อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1............................................................................................................................................................................. 2.......................................................................................................................................................................…) ลายมือชื่อ....................................................... (ชื่อหัวหน้าหน่วยรับตรวจ) ตำแหน่ง....................................................... วันที่........เดือน.......................พ.ศ.............. จุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ มาจากการพิจารณาข้อมูลในแบบประเมินผลการควบคุมภายในทั้งหมด

  14. ปอ.1 2 3 ปส. ปย.1 ปย.1 ปย.2 ปย.2 การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. ขั้นตอนการจัดทำรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน

  15. ระบบการควบคุมภายใน บรรยายโดย นฬญา ดำรงคะวิริยะพันธ์ กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  16. เนื้อหาการบรรยาย 2 ส่วน - ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการ กำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 - การจัดทำรายงานการควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ 6

  17. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

  18. ความหมายของการควบคุมภายในความหมายของการควบคุมภายใน “กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากร ของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจ อย่างสมเหตุผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุ วัตถุประสงค์ ”

  19. วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ความเชื่อถือของรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

  20. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำให้มีระบบการ ควบคุมเกิดขึ้น 3. ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลเท่านั้น

  21. ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมองค์กรผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและประเมินการควบคุมภายในภาพรวมองค์กร การควบคุมกลยุทธ์ ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบายการจัดวาง ประเมิน และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมภายใน ควบคุมการบริหารโครงการ ผู้บริหารระดับกลาง จัดให้มีการวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน ควบคุมการปฏิบัติงาน ผู้บริหารระดับต้น จัดวาง สอบทาน ประเมิน และปรับปรุงการควบคุมภายใน การปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติและแจ้งจุดอ่อน การควบคุมภายใน การควบคุมภายใน : ผู้รับผิดชอบ กรม สำนัก / กอง ส่วน / ฝ่าย ทุกหน่วยงาน/ระดับ

  22. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ

  23. หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูงหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง 1. รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ 2. ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน 3. กำหนดให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการ ควบคุมภายใน

  24. หน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับหน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ 1. จัดให้มีการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ 2. สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้บังคับในหน่วยงานที่ตน รับผิดชอบ 3. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการควบคุมภายในให้รัดกุม

  25. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายในปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายใน ปัจจัยผลักดัน 1. วัตถุประสงค์ (Purpose)ชัดเจน 2. ข้อตกลงร่วมกัน (Commitment) 3. ความสามารถ (Capability)ในการบริหารงาน 4. การปฏิบัติการ (Action) 5. การเรียนรู้ (Learning)

  26. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายในปัจจัยแห่งความสำเร็จของระบบการควบคุมภายใน ปัจจัยเกื้อหนุน 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2. การบริหารความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงอย่าง สม่ำเสมอ 3. การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นระบบ/เหมาะสม 4. มีความรับผิดชอบและจิตสำนึกของบุคลากรทุกระดับ

  27. ข้อจำกัดของระบบการควบคุมภายในข้อจำกัดของระบบการควบคุมภายใน การตัดสินใจของผู้บริหาร การสื่อสาร ข้อจำกัดของ ระบบการควบคุมภายใน บุคลากร ต้นทุนสูง การทุจริต เหตุการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้

  28. การใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจผิดพลาดการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจผิดพลาด ผู้บริหารใช้อำนาจหรืออภิสิทธิ์สั่งการเป็นอย่างอื่น ผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่องค์กรกำหนด  การสมรู้ร่วมคิดกันโดยทุจริตกระทำการฉ้อโกง  ขาดความเข้าใจในกลไกของการควบคุมที่กำหนดขึ้น  ความคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น เหตุผลที่ทำให้การควบคุมภายในล้มเหลว

  29. ความสำคัญของระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตัวระเบียบ 9 ข้อ มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ

  30. ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 1 ชื่อระเบียบ ข้อ 2 วันบังคับใช้ ข้อ 3 ความหมายต่าง ๆ ข้อ 4 ผู้รับผิดชอบในการนำมาตรฐานไปใช้ ข้อ 5 จัดวางให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี และรายงานความ คืบหน้าทุก 60 วัน

  31. ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 6 รายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่จัดวางไว้ใน ข้อ 5 ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ

  32. รายละเอียดที่ต้องรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6  การควบคุมภายในเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุม หรือไม่  ผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายในและผลการประเมินองค์ประกอบของการ ควบคุมภายใน  จุดอ่อน ข้อเสนอแนะ และแผนการปรับปรุงแก้ไข

  33. ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 7 ไม่สามารถปฏิบัติได้ ทำข้อตกลง ข้อ 8 บทลงโทษ  แจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา  รายงานต่อประธานรัฐสภา - คณะกรรมาธิการของรัฐสภา

  34. ตัวระเบียบมีทั้งหมด 9 ข้อ - คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปี  อาจต้องรับโทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544 ข้อ 9 ประธานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจ ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบังคับ ใช้ระเบียบนี้

  35. มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ

  36. วัตถุประสงค์ การควบคุม • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • การดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ • ของรายงาน • ทางการเงิน • การปฏิบัติตาม • ข้อกำหนด การควบคุมภายใน : องค์ประกอบ องค์ประกอบ ของการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง การติดตาม ประเมินผล กิจกรรม การควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม

  37. 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุมหมายถึงปัจจัยต่างๆ ซึ่งร่วมกันส่งผลให้มีการควบคุมขึ้นในหน่วยรับตรวจหรือทำ ให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามก็อาจ ทำให้การควบคุมย่อหย่อนลงได้

  38. สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม มาตรฐาน: ผู้กำกับดูแลฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจ ต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุม เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี

  39. คณะกรรมการบริหาร/ คณะกรรมการตรวจสอบ ปรัชญา/ลักษณะการทำงานของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์/จริยธรรม ความรู้ ความสามารถทักษะของบุคลากร โครงสร้างการจัดองค์การ นโยบาย/การบริหารทรัพยากรบุคคล การมอบอำนาจหน้าที่/ ความรับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของการควบคุม(Control Environment) ให้เกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมาย

  40. 2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่ง ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด

  41. การประเมินความเสี่ยง มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายใน และภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของ หน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม

  42. การบริหารความเสี่ยง • โครงสร้าง • ระบบงาน • คน • ทรัพย์สิน • งบประมาณ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง วิเคราะห์/จัดลำดับ ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบ อย่างไร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การประเมินความเสี่ยง ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

  43. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) 2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 3. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

  44. การประเมินความเสี่ยง เทคนิคในการระบุความเสี่ยง การระดมสมอง จากกลุ่ม การใช้ CHECKLIST แผนภูมิ การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์โครงข่าย เทคนิค การวิเคราะห์ สถานการณ์

  45. ทำความเข้าใจกับสาเหตุการเกิดความเสี่ยงทำความเข้าใจกับสาเหตุการเกิดความเสี่ยง (เกิดขึ้นบ่อยหรือไม่) คาดการณ์ถึงผลกระทบ (ตัวเงินและไม่ใช่เงิน) กระบวนการตัดสินใจว่าจะดำเนินการอย่างไรกับความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง

  46. การประเมินความเสี่ยง ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยง

  47. การประเมินความเสี่ยง ตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยง

  48. ความเสี่ยงจากลักษณะธุรกิจ ความเสี่ยงจากการควบคุมภายใน ความเสี่ยงจากการตรวจไม่พบข้อผิดพลาด การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ผู้บริหารต้องพิจารณา

More Related