1 / 33

ตัวอย่างหนังสืออ้างอิง

ตัวอย่างหนังสืออ้างอิง. พจนานุกรม (Dictionaries). ให้ความรู้เกี่ยวกับคำ เช่น ชนิดของคำ ตัวสะกด การอ่านออกเสียง ความหมายของคำ คำพ้อง คำตรงข้าม อักษรย่อ และสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับคำ. การแบ่งประเภทพจนานุกรม. แบ่งประเภทตามจำนวนภาษา แบ่งประเภทตามเนื้อหา แบ่งประเภทตามขนาด.

heller
Télécharger la présentation

ตัวอย่างหนังสืออ้างอิง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวอย่างหนังสืออ้างอิงตัวอย่างหนังสืออ้างอิง

  2. พจนานุกรม (Dictionaries) ให้ความรู้เกี่ยวกับคำ เช่น ชนิดของคำ ตัวสะกด การอ่านออกเสียง ความหมายของคำ คำพ้อง คำตรงข้าม อักษรย่อ และสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับคำ

  3. การแบ่งประเภทพจนานุกรมการแบ่งประเภทพจนานุกรม • แบ่งประเภทตามจำนวนภาษา • แบ่งประเภทตามเนื้อหา • แบ่งประเภทตามขนาด

  4. แบ่งประเภทตามจำนวนภาษาแบ่งประเภทตามจำนวนภาษา 1. พจนานุกรมภาษาเดียว 2. พจนานุกรมสองภาษา 3. พจนานุกรมหลายภาษา แบ่งประเภทตามเนื้อหาแบ่งประเภทตามขนาด 1. ประเภททั่วไป 1. ฉบับสมบูรณ์ 2. เฉพาะวิชา 2. ฉบับย่อ

  5. กมล จาตะเสม (2512). พจนานุกรมศัพท์หมวดไทย - อังกฤษ. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ประเสริฐอักษร. • กุลกัญญาณ ป้อมเพชร. (2534). พจนานุกรมศัพท์เกษตรอังกฤษ - ไทย สาขาการบริหาร ธุรกิจเกษตร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. • ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2521). Phrasalverbs. กรุงเทพฯ : แมส พับลิซซิ่ง. • ชิต ภิบาลแทน. (2516). พจนานุกรมไทยฉบับคำพ้องสำหรับผู้ใช้ภาษาไทยทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เฟื่องอักษร. • ทรงพันธ์ วรรณมาศ. (2536). พจนานุกรมภาพศิลปวัฒนธรรมล้านนาและหัวเมือง ฝ่ายเหนือ.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. • ธง ลีพึ่งธรรม. (2544). พจนานุกรมคำเหมือนและคำตรงข้าม. กรุงเทพฯ : โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์

  6. การใช้พจนานุกรม • ต้องการค้นหาเกี่ยวกับคำ • เป็นคำศัพท์เฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ง • หรือคำทั่วไป • ดูวิธีการใช้ • ดูที่ภาคผนวก

  7. ????

  8. สารานุกรม (Encyclopedia) หนังสือที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆเป็นเรื่อง ๆ ที่เป็นความรู้พื้นฐานทั่วไป

  9. ประเภทสารานุกรม 1. แบ่งตามขนาด - หลายเล่มจบ - เล่มเดียวจบ 2. แบ่งตามเนื้อหา - ประเภททั่วไป - เฉพาะวิชา

  10. การใช้สารานุกรม 1. ต้องการค้นหาเรื่องยาวๆ 2. เรื่องอะไร จะค้นได้จากสาขาใด 3. ค้นจากดัชนีเรื่อง (Subject Index)

  11. ตัวอย่างหนังสือสารานุกรมตัวอย่างหนังสือสารานุกรม • อุทัย สินธุสาร. สารานุกรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บำรุงกิจ, 2516 - 2522. 25 เล่ม. • เป็นสารานุกรมที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลเพียงคนเดียว บทความส่วนใหญ่เป็นบทความสั้นๆ มีภาพประกอบ จัดเรียงตามลำดับอักษร ก - ฮ • สารานุกรมโลกของเรา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช - แมคมิลแลน, 2522. 11 เล่ม • บริษัท สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด ได้รับอนุญาตจากสำนักพิมพ์แมคมิลแลน ในการแปลและการจัดพิมพ์เป็นภาษาไทย ภาษาที่ใช้อ่านง่าย มีภาพประกอบสีทุกหน้า แต่ละเล่มมีดรรชนีค้นเรื่อง และเล่มที่ 11 เป็นดรรชนีรวมทั้งชุด

  12. หนังสือรายปี (Yearbooks) หนังสือที่รวบรวมเรื่องราว สถิติข้อเท็จจริงต่าง ๆที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมาอย่างสั้นๆ โดยไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์

  13. ตัวอย่างหนังสือรายปี

  14. ประเภทหนังสือรายปี 1. หนังสือรายปีฉบับเพิ่มเติม 2. สมพัตสร (Almanac) 3. รายงานประจำปี

  15. การใช้หนังสือรายปี • ต้องการสารสนเทศที่ทันสมัย จำนวนสถิติ • เรื่องที่ต้องการอยู่ในหนังสือ รายปีประเภทใด

  16. ตัวอย่างหนังสือรายปี • สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์. • เป็นหนังสือที่รายงานสรุปข่าวเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ที่สำคัญทั้งในและนอกประเทศเป็นรายสัปดาห์เป็นรายงานข้อเท็จจริงไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์ใด ๆ • TheWorldAlmanacandBookofFacts. • เป็นหนังสือรายปีที่ให้ข้อมูลสถิติและรายงานเหตุการณ์สำคัญ ๆ ในรอบปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การกีฬา ตลอดจนรางวัลต่าง ๆ ฯลฯ ให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก เน้นหนักประเทศสหรัฐอเมริกา • InformationPleaseAlmanac, AtlasandYearbook. • บันทึกเหตุการณ์สำคัญในรอบปี มีเรื่องราวเกี่ยวกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอย่างย่อ ๆ เน้นหนักประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องขององค์การระหว่างประเทศ ภัยพิบัติ สถิติเกี่ยวกับการกีฬา แลอื่น ๆ มีดรรชนีให้ค้นเรื่องราวต่าง ๆ อย่างละเอียด

  17. อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary) หนังสือที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชีวประวัติบุคคลสำคัญในสาขาวิชาต่าง ๆ - ชีวิตส่วนตัว - ตำแหน่งหน้าที่การงาน - ผลงาน

  18. ตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติ

  19. ประเภทอักขรานุกรมชีวประวัติประเภทอักขรานุกรมชีวประวัติ 1. ชีวประวัติบุคคลทั่วไป 2. ชีวประวัติของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง 3. ชีวประวัติผู้ที่มีอาชีพเดียวกันหรือสนใจเรื่องเดียวกัน

  20. ตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติ BiographyIndex. รวบรวมชีวประวัติบุคคลทั่วโลก ให้ข้อมูลสั้น ๆ ของเจ้าของชีว ประวัติ และอ้าง อิงผลงานที่เขียน และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1984 เป็นต้นมาสามารถสืบค้น BiographyIndex ด้วยระบบออนไลน์โดยผ่าน WILSONLINE และในรูปแบบ CD-ROMCurrentBiography. เป็นอักขรานุกรมชีวประวัติที่จัดพิมพ์เป็นวารสารรายเดือน ปีละ 11 ฉบับ (เว้นฉบับเดือนสิงหาคม) และรวมเล่มประจำปีทุกปี รวมชีวประวัติบุคคลสำคัญในทุก วงการของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และให้รายการชีวประวัติอย่างละเอียดตั้งแต่ประวัติ ส่วนตัว การศึกษา หน้าที่การงาน และผลงานที่สำคัญ ๆ เรียงลำดับรายการแบบ พจนานุกรมตามลำดับชื่อ สกุล

  21. ตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติตัวอย่างหนังสืออักขรานุกรมชีวประวัติ Who’sWhoinThailand.เป็นหนังสือที่รวบรวมชีวประวัติบุคคลทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศในวงการต่าง ๆ เช่น วงการธุรกิจ อุตสาหกรรม และการศึกษา ฯลฯ เป็นต้น ชีวประวัติแต่ละรายการจะบอกปีเกิด อายุ ตำแหน่งหน้าที่การงาน การศึกษา และที่อยู่ปัจจุบัน พร้อมทั้งมีภาพถ่ายเจ้าของชีวประวัติ The Asia Who’s Who. เป็นหนังสือรวบรวมชีวประวัติบุคคลชั้นนำของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ทั้งหญิงและชาย ประมาณ 2,000 คน แบ่งเป็นประเทศแล้วเรียงตามลำดับอักษรชื่อสกุลแต่ละชีวประวัติให้รายละเอียดสั้น ๆ เกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด หน้าที่การงาน และผลงานเด่น ๆ ฯลฯ เป็นต้น

  22. การใช้อักขรานุกรมชีวประวัติการใช้อักขรานุกรมชีวประวัติ 1. ต้องการทราบเกี่ยวกับชีวประวัติบุคคล 2. ตรวจสอบว่าเป็นใคร ชาติใด อาชีพอะไร เป็นต้น

  23. นามานุกรม (Directories) หนังสือที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชื่อของบุคคล องค์กร หน่วยงานราชการต่าง ๆ - อธิบายชื่อ - สถานที่อยู่ - อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

  24. ตัวอย่างหนังสือนามานุกรมตัวอย่างหนังสือนามานุกรม

  25. หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ หนังสือที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชื่อทางภูมิศาสตร์ - ตำแหน่งที่ตั้ง - ลักษณะพื้นที่ - ภาพประกอบ

  26. หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ 1. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ 2. หนังสือนำเที่ยว 3. หนังสือแผนที่

  27. หนังสือคู่มือ (Handbooks) หนังสือที่รวบรวมความรู้ข้อเท็จจริงหลายอย่างที่เกี่ยวกับวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น - หนังสือคู่มือวิชาเคมี - หนังสือคู่มือวิชาคณิตศาสตร์

  28. สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) * หนังสือหรือเอกสารที่รัฐบาล หน่วยงานราชการ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานทางราชการ * หนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ ที่พิมพ์โดยใช้ เงินรัฐบาล

  29. หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชาหนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา ได้แก่หนังสืออ้างอิงประเภทต่าง ๆ แต่ยึดเอาเนื้อหาของหนังสือเป็นเกณฑ์ ในการนำมาจัดรวมอยู่ด้วยกัน หนังสือบรรณานุกรม (Bibliography) สิ่งพิมพ์ที่รวบรวมรายชื่อหนังสือหรือบทความที่ตีพิมพ์ โดยมีวิธีการจัดทำและเรียบเรียงให้สะดวกในการใช้

  30. หนังสือดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นคู่มือที่ใช้ค้นหาบทความที่ต้องการจาก วารสารต่าง ๆ - รวบรวมบทความที่ตีพิมพ์ - จัดเรียบเรียงตาม ชื่อผู้แต่ง ชื่อบทความ หัวเรื่อง

  31. หนังสือธรรมดาจัดเป็นหนังสืออ้างอิง(Boarderline book) • สาส์นสมเด็จ • ประชุมพงศาวดาร • ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ • พระราชประวัติ • ราชกิจจานุเบกษา

  32. ซักถาม?? :>> ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา(ARDC) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม <<:

More Related