1 / 21

ไขข้อปัญหา

งานเทคนิค (การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ). KS-Time. ไขข้อปัญหา. นำเสนอโดย นางสาวสายเสน่ห์ เณรพงษ์. ความหมาย RFID.

hestia
Télécharger la présentation

ไขข้อปัญหา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานเทคนิค (การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ) KS-Time ไขข้อปัญหา นำเสนอโดย นางสาวสายเสน่ห์ เณรพงษ์

  2. ความหมาย RFID RFID ย่อมาจาก Radio-frequency identification หมายถึงเทคโนโลยีไร้สายที่ใช้ระบุลักษณะเฉพาะของสิ่งต่างๆ ด้วยการติดแผ่นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (Tag) โดยใช้คลื่นความถี่วิทยุ ในการจัดเก็บข้อมูล ซึ่งสามารถใช้งานได้กับอุปกรณ์ต่างๆ วัตถุประสงค์หลัก คือ นำไปใช้แทนระบบรหัสแท่งหรือบาร์โค๊ด(Barcode)

  3. 1 2 3 ส่วนประกอบของ RFID ทรานสปอนเดอร์/แท็ก (Transponder/Tag) เครื่องสำหรับอ่าน/เขียนข้อมูล ภายในแท็ก (Interrogator/Reader) ระบบประยุกต์ใช้งาน หรือระบบฐานข้อมูล

  4. ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบ RFID “อาร์เอฟไอดี” เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยน ข้อมูลแบบไร้สาย ข้อมูลจะถูกเขียนลงในชิปและอ่านจากชิปที่เชื่อมติดกับสายอากาศ รับสัญญาณคลื่นวิทยุจากอุปกรณ์อ่าน/เขียน ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่า ตัวอ่านข้อมูล ตัวเข้ารหัส และเครื่องอ่านสัญญาณ ข้อมูลถูกแลกเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ โดยไม่มีการแทรกแซงของผู้ใช้บริการใดๆ โดยเปลี่ยนจากการอ่านหนังสือจากระบบบาร์โค้ดมาเป็นระบบ RFID สามารถอ่านหนังสือได้ทีละหลายๆ เล่ม (ที่มา : บทความข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ RFID : ความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยี RFID. Cool Comments. Nov 2006,กรุงเทพฯ : บริษัท อินเตอร์เมค เทคโนโลยี คอร์ป, 2006.

  5. เหตุผลในการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ในห้องสมุด • ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการบริการยืม-คืน • ทำให้การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายขึ้น • เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการสำรวจชั้นหนังสือ • มีความปลอดภัยสูง • ป้าย RFID มีอายุการใช้งานนาน (ป้าย RFID 1 ชิ้น สามารถผ่านการใช้งานยืม-คืนอย่างน้อยที่สุด 100,000 ครั้ง)

  6. หน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับระบบ RFID บรรณารักษ์งานเทคนิค (การวิเคราะห์ทรัพยากรสารนิเทศ) มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับระบบ RFID ดังนี้ • อ่านบาร์โค้ดหนังสือ เพื่อกำหนดรหัส RFID tag และติด RFID tag ที่หนังสือภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ • (งานเพิ่มเติม) อ่านบาร์โค้ดหนังสือเพื่อกำหนดรหัส RFID tag, ติด RFID tag และแก้ไข RFID tag ที่ชำรุด ที่หนังสือเก่าภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่ส่งมาจากงานบริการหอสมุดกลางและห้องสมุดคณะ

  7. ตัวอย่างแบบฟอร์มการดำเนินการแผงวงจร RFID

  8. 2 1 3 4 5 ปัญหาที่พบเกี่ยวกับการใช้ RFID TAG ปัญหาที่พบเกี่ยวกับการนำ RFID Tag มาใช้ในงานบริการของสำนักหอสมุดกลางและห้องสมุดคณะ ดังนี้ Tag ไม่อ่าน / TagError Tag อ่านบ้างไม่อ่านบ้าง Tag อ่าน แต่ข้อมูลไม่ตรงกับตัวเล่ม Tag อ่าน แต่มีเลขทะเบียนซ้ำ 2 เล่ม ไม่มี Tag / Tag หาย

  9. Tag ไม่อ่านหรือขึ้นว่า TagError ? • Tag ชำรุด • ปัญหาด้านความถี่

  10. 1 ความชื้น/น้ำ ฉีกขาด เสียมาจากบริษัท 2 3 Tag ชำรุด

  11. ปัญหาด้านความถี่ การใช้ความถี่ที่ต่ำจะมีผลทำให้ถูกรบกวนจากคลื่นวิทยุใกล้เคียงได้ง่าย เช่น คลื่นจากโทรศัพท์มือถือ คลื่นจากโทรทัศน์ เป็นต้นในการนำเทคโนโลยี RFID ไปใช้งานก็ต้องพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการรบกวนของสัญญาณว่าเป็นอย่างไร เช่นมีการติดตั้งตัวอ่านไว้ใกล้กับเครื่องส่งวิทยุ หรือ ใกล้เครื่องรับโทรทัศน์ หรือจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ตัวแปรต่าง ๆเหล่านี้ย่อมมีผลต่อการลดทอนการทำงานของระบบ RFID ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลเกิดความผิดพลาดขึ้นมาได้

  12. Tagอ่านบ้างไม่อ่านบ้าง?Tagอ่านบ้างไม่อ่านบ้าง? • ปัญหาด้านวัสดุ • ติด Tag ไม่สนิท

  13. ปัญหาด้านวัสดุ เนื่องจากคุณสมบัติของคลื่นวิทยุจะมีการสะท้อนกลับ การหักเหและการเบี่ยงเบน เป็นต้น สาเหตุที่เกิดการหักเหของทางเดินของคลื่นวิทยุเนื่องจากความเร็วของคลื่นวิทยุในตัวกลาง ที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าแตกต่างกันจะไม่เท่ากัน ดังนั้นผลิตภัณฑ์บางอย่างก็ไม่สามารถนำมาติด Tag RFID ได้ เช่น หนังสือที่มีภาพประกอบหรือวัสดุที่เป็นโลหะหรือสารเคลือบสะท้อน ประกอบที่ตัวเล่มหรือบนปก เป็นต้น

  14. ติด Tag ไม่สนิท ตัว Tag บางชิ้นเป็น Tag ที่นำกลับมาใช้ใหม่ เมื่อนำ Tag เก่ามาติดกับหนังสือใหม่ ตัว Tag จะไม่มาสามารถติดหรือติดไม่สนิทกับตัวปกหรือบริเวณต้องการติด Tag เนื่องจากกาวที่ติดมากับ Tag เสื่อมสภาพ/ไม่มีกาวในตัว Tag

  15. Tagอ่าน แต่ข้อมูลไม่ตรงกับตัวเล่ม? • ติดบาร์โค้ดไม่ตรงกับตัวเล่ม • ติด Tag ผิดตัวเล่ม

  16. ติดบาร์โค้ดไม่ตรงกับตัวเล่มติดบาร์โค้ดไม่ตรงกับตัวเล่ม บรรณารักษ์ดำเนินการติดบาร์โค้ดผิดพลาด และมีการตรวจสอบเลขทะเบียนที่หนังสือก่อนส่งให้งานบริการผิดพลาด T084481 T084418

  17. ติด Tag ผิดตัวเล่ม การนำ Tag มาใส่ผิดตัวเล่ม ส่งผลทำให้ข้อมูลที่บันทึกไม่ตรงกับตัวเล่มได้

  18. Tag อ่าน แต่มีเลขทะเบียนซ้ำ 2 เล่ม? บันทึกเลขทะเบียนซ้ำ บรรณารักษ์ บันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลโปรแกรม Millennium โมดูล Cataloging ซ้ำ

  19. 1 2 3 • ตัวเล่ม • ไม่อยู่ที่ชั้น • หนังสือส่งซ่อม • ผู้ให้บริการ • ความหลงลืม • ผู้ใช้บริการ • แกะ/ดึงออก • ทำลายทิ้ง ทำไมไม่มี Tag หรือ Tag หาย? เกิดจากสาเหตุ ดังนี้

  20. ถาม-ตอบ KS-Time : ไขข้อปัญหา RFID

  21. Thank you E-mail : knsaisan@kmitl.ac.th

More Related