1 / 11

File : MD401_U6_1.swf

File : MD401_U6_1.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทที่ 6 การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ใช้บ่อย วัตถุประสงค์การเรียนรู้.  คลิกข้อความที่ขีดเส้นใต้ดูแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม.

hiero
Télécharger la présentation

File : MD401_U6_1.swf

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File : MD401_U6_1.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทที่ 6 การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ใช้บ่อย วัตถุประสงค์การเรียนรู้  คลิกข้อความที่ขีดเส้นใต้ดูแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทที่ 6 การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ใช้บ่อยสำหรับบทเรียนนี้นักศึกษาจะได้ทราบถึงวัตถุประสงค์การเรียนดังต่อไปนี้ค่ะ • แสดงข้อความ, และดนตรีประกอบ

  2. 2 File : MD401_U6_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ การดูอาการแสดง การทดสอบในผู้ป่วย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ  คลิกข้อความที่ขีดเส้นใต้ดูแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม ดนตรี • แสดงข้อความ, และดนตรีประกอบ

  3. File : MD401_U6_2.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ในการตรวจร่างกายระบบผิวหนังโดยการดูด้วยตาเปล่า และอาจใช้แว่นขยายช่วยส่องเพื่อดูรายละเอียดของผื่นให้ชัดเจนขึ้นดังได้กล่าวไปแล้ว ถ้าการตรวจนั้นยังไม่สามารถให้การวินิจฉัย โรคได้ ยังมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental), การดูอาการแสดง (Clinical signs), การทดสอบในผู้ป่วย (Clinical tests) และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory tests) • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย ในการตรวจร่างกายระบบผิวหนังโดยการดูด้วยตาเปล่า และอาจใช้แว่นขยายช่วยส่องเพื่อดูรายละเอียดของผื่นให้ชัดเจนขึ้นดังได้กล่าวไปแล้ว ถ้าการตรวจนั้นยังไม่สามารถให้การวินิจฉัย โรคได้ ยังมีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental), การดูอาการแสดง (Clinical signs), การทดสอบในผู้ป่วย (Clinical tests) และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory tests)

  4. File : MD401_U6_4.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental) 1. แว่นขยาย นอกจากแว่นขยายขนาด x 10 ที่นิยมใช้ทั่วไปแล้ว อาจเพิ่มกำลังขยายเอง แว่นขยายได้ถึง x 30 และถ้าใช้น้ำมันที่ใช้กับการดูกล้องจุลทรรศน์หยดลงไปบนผื่นแล้วส่องด้วยแว่นขยายที่ติดไฟส่องสว่างจะทำให้เห็นผื่นหรือรายละเอียดอื่นๆ ของผื่นมากขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ตรวจดูผื่นของ diseoid leyous, lichen plassus, basal cell carcinoma และ melanoma การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental) 1. แว่นขยาย นอกจากแว่นขยายขนาด x 10 ที่นิยมใช้ทั่วไปแล้ว อาจเพิ่มกำลังขยายเอง แว่นขยายได้ถึง x 30 และถ้าใช้น้ำมันที่ใช้กับการดูกล้องจุลทรรศน์หยดลงไปบนผื่นแล้วส่องด้วยแว่นขยายที่ติดไฟส่องสว่างจะทำให้เห็นผื่นหรือรายละเอียดอื่นๆ ของผื่นมากขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ตรวจดูผื่นของ diseoid leyous, lichen plassus, basal cell carcinoma และ melanoma • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย

  5. File : MD401_U6_5.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental) 2. Wood’s lamp เป็นเครื่องมือส่องตรวจที่ใช้แสงจากหลอด ultraviolet 320-400 mm. และต้องส่องดูผื่นในห้องมืด ลักษณะผื่นที่จะส่องดูด้วย wood’s lamp ได้แก่ ผิวหนังที่ขาวหรือดำกว่าปกติ ผิวหนังขาวที่ไม่มี melanin เช่น vitiligo เมื่อส่อง wood’s lamp จะเห็นเป็นสีขาวจัดเมื่อเทียบกับผิวขาวเกิดจากมี melanin ลดลง เช่น pityrians versicolor เม็ด melanin ที่เพิ่มขึ้นใน dermis จะไม่เข้มขึ้นเมื่อส่อง wood’s lamp แต่เม็ดสีที่เพิ่มขึ้นใน epidermis จะเห็นผื่นเข้มชัดขึ้น จึงมีประโยชน์ในการแยกระดับความลึกของเม็ดสีที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังใช้ช่วยในการวินิจฉัยกลากที่เรืองแสง และ enythrasma ซึ่งจะเห็นเป็นสีแดงปะการัง • แสดงข้อความ,และเสียงบรรยาย 2. Wood’s lamp เป็นเครื่องมือส่องตรวจที่ใช้แสงจากหลอด ultraviolet 320-400 mm. และต้องส่องดูผื่นในห้องมืด ลักษณะผื่นที่จะส่องดูด้วย wood’s lamp ได้แก่ ผิวหนังที่ขาวหรือดำกว่าปกติ ผิวหนังขาวที่ไม่มี melanin เช่น vitiligo เมื่อส่อง wood’s lamp จะเห็นเป็นสีขาวจัดเมื่อเทียบกับผิวขาวเกิดจากมี melanin ลดลง เช่น pityrians versicolor เม็ด melanin ที่เพิ่มขึ้นใน dermis จะไม่เข้มขึ้นเมื่อส่อง wood’s lamp แต่เม็ดสีที่เพิ่มขึ้นใน epidermis จะเห็นผื่นเข้มชัดขึ้น จึงมีประโยชน์ในการแยกระดับความลึกของเม็ดสีที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังใช้ช่วยในการวินิจฉัยกลากที่เรืองแสง และ enythrasma ซึ่งจะเห็นเป็นสีแดงปะการัง

  6. File : MD401_U6_6.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ การใช้เครื่องมือช่วยตรวจ (Clinical instrumental) 3. Disacopy ใช้กระจกใส เช่น กระจก slides หรือพลาสติกใสกดลงบนผิวของผื่นผิวหนังจะช่วยแยกรอยแดงที่เกิดจากมีเลือดออก ออกจากผื่นแดงที่เกิดจากหลอดเลือดขยายตัว หรือดูผื่นที่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมน้ำตาลในโรค sarcoidoris, tuberculosis, lymphoma และ granuloma ennulare • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย 3. Disacopy ใช้กระจกใส เช่น กระจก slides หรือพลาสติกใสกดลงบนผิวของผื่นผิวหนังจะช่วยแยกรอยแดงที่เกิดจากมีเลือดออก ออกจากผื่นแดงที่เกิดจากหลอดเลือดขยายตัว หรือดูผื่นที่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมน้ำตาลในโรค sarcoidoris, tuberculosis, lymphoma และ granuloma ennulare

  7. File : MD401_U6_7.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การดูอาการแสดง การตรวจอาการแสดง ( Clinical signs ) 1. Dimple signใช้นิ้วชี้และนิ้วโป้งจับที่ด้านข้างของก้อนหรือตุ่มผิวหนังแล้วกดลงเล็กน้อย ถ้าหนังตรงกลางตุ่มถูกดึงบุ๋มลงมาเป็นรอยเหมือนลักยิ้มจะพบใน dermatofibroma แต่ในโรคอื่นๆ ที่เป็นตุ่มหรือก้อนที่ผิวหนัง เช่น ไฝ, melanoma ผิวหนังตรง กลางตุ่มจะไม่บุ๋มลงไป นิยมใช้ลักษณะนี้ตรวจว่าเป็น dermatofibroma หรือไม่ 2. Nikolsky’s signใช้ตรวจจับรอยโรคที่เป็นตุ่มน้ำ โดยการใช้นิ้วถูเบาๆ ที่ผิวหนังข้างๆ ตุ่มน้ำ หรือใช้นิ้วดันที่ด้านข้างของตุ่มน้ำ ถ้าพบว่าขอบตุ่มน้ำด้านตรงข้ามกับที่นิ้วดันเลื่อนขยายออกไปจากเดิม ลักษณะนี้พบในโรค pemphigus และ toxic epidermal necrolysis การตรวจอาการแสดง ( Clinical signs ) • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย 1. Dimple signใช้นิ้วชี้และนิ้วโป้งจับที่ด้านข้างของก้อนหรือตุ่มผิวหนังแล้วกดลงเล็กน้อย ถ้าหนังตรงกลางตุ่มถูกดึงบุ๋มลงมาเป็นรอยเหมือนลักยิ้มจะพบใน dermatofibroma แต่ในโรคอื่นๆ ที่เป็นตุ่มหรือก้อนที่ผิวหนัง เช่น ไฝ, melanoma ผิวหนังตรง กลางตุ่มจะไม่บุ๋มลงไป นิยมใช้ลักษณะนี้ตรวจว่าเป็น dermatofibroma หรือไม่ 2. Nikolsky’s signใช้ตรวจจับรอยโรคที่เป็นตุ่มน้ำ โดยการใช้นิ้วถูเบาๆ ที่ผิวหนังข้างๆ ตุ่มน้ำ หรือใช้นิ้วดันที่ด้านข้างของตุ่มน้ำ ถ้าพบว่าขอบตุ่มน้ำด้านตรงข้ามกับที่นิ้วดันเลื่อนขยายออกไปจากเดิม ลักษณะนี้พบในโรค pemphigus และ toxic epidermal necrolysis

  8. File : MD401_U6_8.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การดูอาการแสดง การตรวจอาการแสดง (Clinical signs) 3. Darier’s sign ใช้ปลายวัสดุทู่ๆ เช่น ปลอกปากกาถูกบนผื่นที่เป็นสีน้ำตาลที่สงสัย urticaria pigmentosa จะเห็นเป็นผื่นบวมนูนเหมือนผื่นลมพิษ 4. Auspiz’s sign ใช้คลิบหนีบกระดาษ หรือวัสดุอื่นขูดเบาๆ เอาสะเก็ดสีขาวออกจากผื่นที่สงสัยว่าเป็น psoriasis จะพบจุดเลือดออกเป็นจุดๆ อยู่ในผื่น เนื่องจากการแตกของ capillaries ใน dermal papillae ที่ขึ้นมาอยู่สูง และขยายในโรค psoriasis ซึ่งจะไม่พบลักษณะนี้ในโรคอื่นที่เป็นผื่นที่มี scale (papuloquamous lesion) 3. Darier’s sign ใช้ปลายวัสดุทู่ๆ เช่น ปลอกปากกาถูกบนผื่นที่เป็นสีน้ำตาลที่สงสัย urticaria pigmentosa จะเห็นเป็นผื่นบวมนูนเหมือนผื่นลมพิษ 8 4. Auspiz’s sign ใช้คลิบหนีบกระดาษ หรือวัสดุอื่นขูดเบาๆ เอาสะเก็ดสีขาวออกจากผื่นที่สงสัยว่าเป็น psoriasis จะพบจุดเลือดออกเป็นจุดๆ อยู่ในผื่น เนื่องจากการแตกของ capillaries ใน dermal papillae ที่ขึ้นมาอยู่สูง และขยายในโรค psoriasis ซึ่งจะไม่พบลักษณะนี้ในโรคอื่นที่เป็นผื่นที่มี scale (papuloquamous lesion) • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย

  9. File : MD401_U6_9.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การทดสอบในผู้ป่วย การทดสอบในผู้ป่วย ( Clinical test ) 1. Patch testing เป็นการทดสอบสำหรับผื่นแพ้สารที่สัมผัส (allergic contact dermatitis) โดยการเอา allergen ในขนาดความเข้มข้นตามมาตรฐานที่กำหนด แปะไว้ที่แผ่นหลังผู้ป่วยทิ้งไว้ 48-72 ชม. แล้วเอาออก ดูว่ามีปฏิกิริยาบวมแดงแบบ ezema ตรงตำแหน่งที่แปะสารทดสอบหรือไม่ ถ้าสงสัยการแพ้สารจนเกิดจากปฏิกิริยาที่แสง ultraviolet เป็นตัวช่วยกระตุ้นจะทำการทดสอบแบบ photopatch testing ฉายแสง ultraviolet ไปที่บริเวณที่แปะสารทดสอบเพื่อดูปฏิกิริยา 2. Phototestingเป็นการทดสอบปฏิกิริยาของผิวหนังต่อแสง ultraviolet ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ กัน ใช้ทดสอบในโรคผิวหนังที่มีแสงเป็นตัวกระตุ้น หรือโรคแพ้แสง การทดสอบในผู้ป่วย ( Clinical test ) 1. Patch testing เป็นการทดสอบสำหรับผื่นแพ้สารที่สัมผัส (allergic contact dermatitis) โดยการเอา allergen ในขนาดความเข้มข้นตามมาตรฐานที่กำหนด แปะไว้ที่แผ่นหลังผู้ป่วยทิ้งไว้ 48-72 ชม. แล้วเอาออก ดูว่ามีปฏิกิริยาบวมแดงแบบ ezema ตรงตำแหน่งที่แปะสารทดสอบหรือไม่ ถ้าสงสัยการแพ้สารจนเกิดจากปฏิกิริยาที่แสง ultraviolet เป็นตัวช่วยกระตุ้นจะทำการทดสอบแบบ photopatch testing ฉายแสง ultraviolet ไปที่บริเวณที่แปะสารทดสอบเพื่อดูปฏิกิริยา 2. Phototestingเป็นการทดสอบปฏิกิริยาของผิวหนังต่อแสง ultraviolet ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ กัน ใช้ทดสอบในโรคผิวหนังที่มีแสงเป็นตัวกระตุ้น หรือโรคแพ้แสง • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย

  10. File : MD401_U6_9.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory test) 1. การตรวจโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ โ눔຀ั่วไปสิ่งส่งตรวจที่ตรวจโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์โดยตรง หรือย้อมแล้วดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ scale, crust, pus, serum และเส้นผมโดยการตรวจ KDH preparation, gram stain และ wright’s stain ดังนั้น จึงสามารถตรวจยืนยันโรคผิวหนังติดเชื้อทั้งเชื้อรา แบคทีเรีย และหัด โรคของเส้นผม และโรคผิวหนังที่เป็นตุ่มน้ำ (vesicle / bulla) ถ้าขูดเบาๆ ที่ก้นของ vesicle แล้วย้อมด้วยสี wright’s หรือ giemsa’s และส่องดู cell เรียกวิธีตรวจนี้ว่า tzanck test จะพบ multinucleated giant cell ในเริม, อีสุกอีใส และงูสวัด พบ acantholytic cell ในโรค pemphigus เป็นต้น การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory test) 1. การตรวจโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ โดยทั่วไปสิ่งส่งตรวจที่ตรวจโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์โดยตรง หรือย้อมแล้วดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ scale, crust, pus, serum และเส้นผมโดยการตรวจ KDH preparation, gram stain และ wright’s stain ดังนั้น จึงสามารถตรวจยืนยันโรคผิวหนังติดเชื้อทั้งเชื้อรา แบคทีเรีย และหัด โรคของเส้นผม และโรคผิวหนังที่เป็นตุ่มน้ำ (vesicle / bulla) ถ้าขูดเบาๆ ที่ก้นของ vesicle แล้วย้อมด้วยสี wright’s หรือ giemsa’s และส่องดู cell เรียกวิธีตรวจนี้ว่า tzanck test จะพบ multinucleated giant cell ในเริม, อีสุกอีใส และงูสวัด พบ acantholytic cell ในโรค pemphigus เป็นต้น • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย

  11. File : MD401_U6_9.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory test) 2. การตัดหนังตรวจ (skin biopsy)สิ่งที่สำคัญมากในการตัดหนังตรวจ คือ การเลือกผื่นที่เหมาะสม โดยทั่วไปจะเลือกผื่นที่พัฒนาเต็มที่คืออายุผื่นมากกว่า 24 ชม. ยกเว้นในกรณีที่สงสัยหลอดเลือดอักเสบ (vassculitis) และผื่นที่เป็น vesicle ควรเลือกผื่นที่ค่อนข้างใหม่ เพราะจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาที่เฉพาะได้ดีกว่า โดยทั่วไปนิยมการตัดโดยฉีดยาชาเฉพาะที่และใช้ punch ขนาด 4 มม. ตัดเพื่อนำชิ้นเนื้อส่งตรวจได้ทั้ง histopathology, immuno fluorescence,electron microscope, PCR และการเพาะเชื้อตามความเหมาะสม • แสดงข้อความ,ภาพและเสียงบรรยาย 2. การตัดหนังตรวจ (skin biopsy)สิ่งที่สำคัญมากในการตัดหนังตรวจ คือ การเลือกผื่นที่เหมาะสม โดยทั่วไปจะเลือกผื่นที่พัฒนาเต็มที่คืออายุผื่นมากกว่า 24 ชม. ยกเว้นในกรณีที่สงสัยหลอดเลือดอักเสบ (vassculitis) และผื่นที่เป็น vesicle ควรเลือกผื่นที่ค่อนข้างใหม่ เพราะจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาที่เฉพาะได้ดีกว่า โดยทั่วไปนิยมการตัดโดยฉีดยาชาเฉพาะที่และใช้ punch ขนาด 4 มม. ตัดเพื่อนำชิ้นเนื้อส่งตรวจได้ทั้ง histopathology, immuno fluorescence,electron microscope, PCR และการเพาะเชื้อตามความเหมาะสม

More Related