1 / 34

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อการศึกษา. เมธี พิกุลทอง http ://www.edu.rmutt.ac.th/metee. เทคโนโลยีสารสนเทศ. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วัตถุประสงค์ของการเรียน. เพื่อให้นักศึกษาทราบความหมายของ เทคโนโลยีสารสนเทศ

hieu
Télécharger la présentation

เทคโนโลยีสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เพื่อการศึกษา เมธี พิกุลทอง http://www.edu.rmutt.ac.th/metee เทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

  2. วัตถุประสงค์ของการเรียนวัตถุประสงค์ของการเรียน • เพื่อให้นักศึกษาทราบความหมายของ เทคโนโลยีสารสนเทศ • เพื่อให้นักศึกษาทราบองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ • เพื่อให้นักศึกษาทราบความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศกับกระบวนการทางการศึกษา • เพื่อให้นักศึกษาทราบเหตุผลของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกระบวนการทางการศึกษา

  3. ข้อมูล (DATA)

  4. L M A W I B S H D K C Z F G Y V X T U Q N

  5. คำจำกัดความ (DATA) • ตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ใด ๆ นำมารวมกันแล้วมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี , 2546

  6. สารสนเทศ (Information)

  7. คำจำกัดความ สารสนเทศ (Information) ข้อมูลที่ได้รับการสรุป , คำนวณ ,จัดเรียง ,ประมวลอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ จนได้เป็นข้อความรู้ เพื่อนำมาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ ถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วทันต่อการนำมาใช้ประโยชน์ (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี,http://www.princess-it.org/kp9/articles/ch1-2.th.html)

  8. คำจำกัดความ เทคโนโลยี (Technology) Techno logy วิธีการ การศึกษาหาความรู้

  9. คำจำกัดความ เทคโนโลยี (Technology) • มีที่มาจาก “นวัตกรรม” หรือการกระทำ • ที่ยังไม่เคยมีใครทำ • เคยมีคนทำบ้างแล้วแต่ยังไม่แพร่หลาย • นำการกระทำเก่า ๆ มาใช้ใหม่ • นำนวัตกรรมไปใช้และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย

  10. ความหมายของ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) • การศึกษาวิธีการจัดหาข้อมูลและนำมาแปลผลให้เข้าใจง่ายขึ้นตามหลักวิชาการ เพื่อการใช้งานอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ชัดเจน และนำไปจัดเก็บอย่างปลอดภัย พร้อมนำมาใช้และปรับปรุงในอนาคต

  11. ตัวอย่างที่ 1 การจัดการสารสนเทศทั่วไป No Smoking

  12. ตัวอย่างที่ 2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชั้นเรียน • ในห้องนี้มีนักศึกษาทั้งหมด 26 คน • แบ่งเป็นชาย 12 คน • แบ่งเป็นหญิง 14 คน

  13. IT ICT

  14. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(Information & Communication Technology: ICT) • กลุ่มเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ • กลุ่มเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม • กลุ่มเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ

  15. องค์ประกอบของICT • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (Peopleware) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4)

  16. องค์ประกอบของ ICT • เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมการรับ / ส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลกัน

  17. องค์ประกอบของ ICT • เทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ วิธีการกำหนด สั่งการใช้อุปกรณ์ทำงานได้ด้วยตนเอง

  18. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา

  19. พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ขณะนี้ยังมีบุคคลอีกจำนวนมาก ที่มีความตั้งใจจริงมีศรัทธาขวนขวายหาความรู้เป็นวิชาชีพใส่ตน แต่ประสบปัญหาไม่มีความรู้พื้นฐาน และไม่มีทุนทรัพย์เพียงพอที่จะเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาวิชาชีพระดับต่างๆ ได้ หากมีช่องทางช่วยเหลือบุคคลเหล่านี้ให้มีความรู้วิชาชีพที่เขาปรารถนา ย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้" http://www.princess-it.org/kp9/hmk-IT/hmk-personal.th.html

  20. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ • รัฐบาลต้องจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ วิทยุโทรทัศน์ และส่งเสริม พัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สนับสนุน • ในระบบโรงเรียน • นอกระบบโรงเรียน • ตามอัธยาศัย • ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม

  21. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับวิชาชีพครูความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับวิชาชีพครู • มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพทางการศึกษากำหนดไว้ • การวัดและประเมินผลการศึกษา • การบริหารจัดการห้องเรียน • การวิจัยทางการศึกษา • นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • ความเป็นครู สำนักมาตรฐานวิชาชีพ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา, ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2548.

  22. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา • เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมืออันสำคัญที่สามารถ ทำคุณประโยชน์ให้กับการศึกษา ได้อย่างดีเลิศหากนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม • หวังผลให้มีการยกระดับการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ไพรัช ธัชยพงษ์ และ พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์,2541, IT for Education,ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. http://www.onec.go.th/Act/6.39/index.htm

  23. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา • การพัฒนาบุคลากรในสังคมอันประกอบด้วยภาคการศึกษา และการฝึกอบรมเป็นเรื่องของการเรียนรู้สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นข้อมูล (Data) ข่าวสาร (Information) หรือความรู้(Knowledge) • เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือที่สามารถนำประโยชน์มาสู่วงการศึกษา ได้อย่างเหมาะสม หากรู้จักใช้ให้เป็นประโยชน์และคุ้มค่าต่อการลงทุน

  24. สุนทรพจน์ของประธานาธิบดี บิล คลินตัน • “The Information Age is, first and foremost, an education age, in which education must start at birth and continue throughout a lifetime……education has to be our highest priority” • “….work to connect every classroom in the country to the Information Superhighway.” สุนทรพจน์ของประธานาธิบดีคลินตันต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2541

  25. Technology and Teachers The more powerful technology becomes, the more indispensable good teachers are . Michael Fullan Ontario Institute for Studies in Education University of Toronto http://www.michaelfullan.ca/Articles_98-99/12_99.htm

  26. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ทางการศึกษา “มุ่งมั่นที่จะนำพาประเทศก้าวเข้าสู่ยุคสารสนเทศ ด้วยระบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้การศึกษาของชาติมีความเท่าเทียม ทั่วถึง มีคุณภาพ และมีความต่อเนื่องเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต”

  27. เหตุผลสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษาเหตุผลสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษา

  28. เหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • ประชากรมีความต้องการในการศึกษาเพิ่มขึ้นเนื่องจากเกิดการแข่งขันทางธุรกิจอย่างสูง • รัฐบาลสนับสนุนและเปิดโอกาสให้ประชากรได้รับการศึกษาจากแหล่งข้อมูลอิเล็คทรอนิคส์ ตามพระราชบัญญัติการศึกษา

  29. เหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • ระบบสื่อสารและโทรคมนาคมของโลกได้รับการพัฒนาขึ้น • เกิดอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการสื่อสารมากขึ้น

  30. เหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเหตุของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • สาระทางการศึกษาที่พร้อมกระจายสู่ผู้เรียนตลอดเวลา • บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสม • จำนวนผู้เรียนมีมากขึ้น ผู้สอนไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง • ความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน

  31. ผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • ช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • ช่วยประหยัดเวลาในการเรียนรู้ • ผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างกระฉับกระเฉง • ผู้เรียนสามารถเรียนได้เร็วหรือช้าตามความเหมาะสม

  32. ผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความเหมาะสมของตนเองมากขึ้น • มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต • เน้นการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Instruction)แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • มีการเรียนแบบ Play and Learn

  33. สรุปเหตุผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาสรุปเหตุผลของการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผู้สอนอยากสอน เครื่องมือและช่องทาง รัฐบาลสนับสนุน ผู้เรียนอยากเรียน

  34. c a 1 b 2 Educational Information & Communication Technology DATA Information Knowledge เปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้เพิ่มขึ้น กระบวนการทางจิตวิทยา ศึกษาได้ด้วยตนเอง มีทักษะการกระทำที่คงทน

More Related