330 likes | 535 Vues
การอบรมเชิงปฏิบัติการ. การวางแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษา. ระหว่างวันที่ 9- 11 สิงหาคม 2555. สพป. มุกดาหาร. การจัดทำแผนกลยุทธ์ พัฒนาการศึกษา ( Strategy Plan ). ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี ผู้อำนวยการ กลุ่มนโยบายและแผน สพป . นครราชสีมา เขต 1. แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Management ).
E N D
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ การวางแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษา ระหว่างวันที่ 9- 11 สิงหาคม 2555 สพป. มุกดาหาร
การจัดทำแผนกลยุทธ์ พัฒนาการศึกษา (Strategy Plan) • ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี • ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน • สพป.นครราชสีมา เขต 1
แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์(Strategic Management)
การบริหารราชการในเชิงยุทธศาสตร์ การนำกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติ การควบคุม กลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ Strategy formulation Strategy control Strategy implementation Strategy Management Process
แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ประเด็นสำคัญที่ควรนำมาวิเคราะห์ การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขององค์กร (StakeholdersAnalysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม องค์กร (SWOTAnalysis) ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 ข้อ 4ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายความว่า ผู้ซึ่งอาจได้รับ ความเดือดร้อนหรือความเสียหายโดยตรง จากการดำเนินงานตามโครงการของรัฐ ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 ข้อ 5ก่อนเริ่มดำเนินโครงการของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ต้องจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลให้ประชาชน ทราบ โดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธี ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 ข้อ 7ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการที่ต้องเผยแพร่แก่ ประชาชนก่อน อย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อมูล เหตุผลและความจำเป็น สาระสำคัญของโครงการ ผู้ดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ ขั้นตอนและระยะ เวลา ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และประมาณการ ค่าใช้จ่ายโครงการ ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 ข้อ 9การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอาจใช้ วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้ การสำรวจความคิดเห็น ได้แก่การสัมภาษณ์ การเปิดให้ แสดงความคิดเห็นทางโทรศัพท์ โทรสาร การสนทนากลุ่มย่อย 1. ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 การประชุมปรึกษาหารือ เช่น ประชาพิจารณ์ อภิปราย สาธารณะ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การประชุม เชิงปฏิบัติการ การประชุมระดับตัวแทนของ กลุ่มบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. 3. วิธีอื่น ๆ ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
แนวคิด/เทคนิค/ความสำคัญแนวคิด/เทคนิค/ความสำคัญ ของการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร Stakeholders
ความสำคัญของการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียความสำคัญของการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เป็นประเด็นสำคัญในทฤษฎีและวิธีการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐในช่วง 30 ปี ที่ผ่านมา จาก หลักการบริหารโครงการ ที่เสนอโดย USAID (United Stated Agency for InternationalDevelopment) ในการจัดทำ Logframe ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ความสำคัญของการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียความสำคัญของการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มา GTZ(German Agency for Technical Cooperation) ในการจัดทำ Project Planning Matrix(PPM) ภายใต้แนวคิด Objectives Oriented Project Planning (OOPP) ตั้งแต่ปี 1980 ที่ยึดหลักการมีส่วนร่วมของ ผู้มีอิทธิพลเกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรมของโครงการ ผู้รับประโยชน์จากโครงการ และผู้ที่ได้รับผลกระทบในเชิงบวกและเชิงลบของโครงการ ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
การจัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการจัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลำดับ Brysonเสนอวิธีการจัดลำดับไว้ 5 ขั้นตอน 1 กระบวนการเลือกผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2 วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเบื้องต้น วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจและ ความสนใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 ผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 4 การวางแผนการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 5 ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ในการทำแผน ผู้บริหารอย่าแบก ภาระอยู่คนเดียว
ข้อคิดเห็น/ความต้องการพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียข้อคิดเห็น/ความต้องการพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต้องการให้สถานศึกษา เพิ่มนโยบาย/กลยุทธ์จุดเน้นใด? 1. โครงการ/กิจกรรมที่ ต้องการให้ สถานศึกษาดำเนินการในระยะ 4 ปี 2.
คำถามและเครื่องมือที่ใช้ตอบคำถามเชิงกลยุทธ์ 1 3 2 Where are we now? Where do we want to go? How do we get there? การกำหนด ทิศทางฯ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก) วิเคราะห์สภาพ แวดล้อม ภายใน+นอก (SWOT) . การกำหนดกลยุทธ์ > > > ^ ^ ^
ปัจจัยที่ใช้ SWOT แบบที่ 2 สภาพแวดล้อมภายนอก(โอกาส/อุปสรรค) C-PEST S T E P C : พฤติกรรมของลูกค้า S : สังคมและวัฒนธรรม P : การเมืองและกฎหมาย T : เทคโนโลยี E : เศรษฐกิจ E : เศรษฐกิจ S : สังคมและวัฒนธรรม T : เทคโนโลยี P : การเมืองและกฎหมาย
การวิเคราะห์ภายในองค์กร 7 S Framework Structure S1 Systems S3 โครงสร้าง องค์กร Strategy S2 ระบบ/ กระบวนการ กลยุทธ์ Shared Values S7 เป้าหมายร่วม/ วิสัยทัศน์ Style S4 Skills S6 แบบแผน/ วัฒนธรรม ทักษะของ บุคลากร Staff S5 การจัดอัตรา กำลังคน
McKinsey’s 7 Ss แบบจำลอง 7s + 2s ในการพัฒนาองค์กร คน ระบบ Strategy กลยุทธ์ Structure โครงสร้าง Style แนวการบริหาร Specific Tools เครื่องมือ Shift the Paradigm ปรับ กระบวนทัศน์ Shared Value อุดมการณ์ร่วม System ระบบ Skill ทักษะ Staff บุคลากร McKinsey’s 7 Ss แบบจำลอง 7S+2S ในการพัฒนาองค์กร 20
การเขียนประเด็นสำคัญ ใช้ ข้อมูล ผลการดำเนินงานประกอบการเขียน ประเด็นสำคัญ งดเว้นการใช้ ความรู้สึก,ข้อเสนอแนะ,การระบายความรู้สึก
การเขียนประเด็นสำคัญ เขียนเฉพาะประเด็นใหญ่ ๆ ที่มาส่งผลกระทบ ต่อการจัดการศึกษา หรือส่งผลกระทบต่อ การจัดการเรียนการสอน จริงๆ เท่านั้น ประเด็นเล็กๆ ไม่ต้องเขียน
ผลผลิต ผลลัพธ์และการบริการ S2: Service & Product คุณลักษณะของผู้เรียน คุณธรรมจริยธรรม ระเบียบ วินัย มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา ระบบการประกันคุณภาพ แหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา ความสามารถในการให้บริการ อัตราการอ่านออกเขียนได้ การคิดคำนวณ คิดวิเคราะห์ สุขภาพ อนามัยของผู้เรียน ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ข้อมูล สภาพปัจจุบัน/ปัญหา (ผลการดำเนินงาน) ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...
ข้อมูลผลการดำเนินงาน ที่ใช้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน นำมาจาก รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของ สถานศึกษา/เขตพื้นที่ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. (ข้อมูลตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบ2 หรือ 3) รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี ของสถานศึกษา(SAR)
คำถามและเครื่องมือที่ใช้ตอบคำถามเชิงกลยุทธ์ 1 3 2 Where are we now? Where do we want to go? How do we get there? การกำหนด ทิศทางฯ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก) วิเคราะห์สภาพ แวดล้อม ภายใน+นอก (SWOT) . การกำหนดกลยุทธ์ > > > ^ ^ ^
โอกาส (O)+ (Opportunity: O) เอื้อแต่อ่อน เอื้อและแข็ง จุดแข็ง (S)+ จุดอ่อน (W) - (Strength : S) (Weakness : W) ไม่เอื้อแต่แข็ง ไม่เอื้อและอ่อน อุปสรรค (T) - (Threat : T)
ปัญหาการประมาณค่าปัจจัยปัญหาการประมาณค่าปัจจัย คณะกรรมการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมไม่ใส่ใจและไม่เห็น ความสำคัญในการวิเคราะห์ว่าแต่ละปัจจัยส่งผลกระทบ ต่อองค์กรมากน้อยเพียงใด จึงประมาณค่าคะแนนไปพอ เสร็จๆ ไปที เหตุ สรุปผลการประเมินสถานภาพองค์กร คลาดเคลื่อน จากสภาพจริง ผล ...ภรณ์นภัส ปิยชัยกวี หัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผน สพท.นม.1...