1 / 48

การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย

การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย. เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์ เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ : ทฤษฎีและนโยบาย 2547 บทที่ 10. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะและชนิด : การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ หรือ การส่งออก-นำเข้า การลงทุน และการกู้ยืม.

hu-stevens
Télécharger la présentation

การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย

  2. เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์ เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ: ทฤษฎีและนโยบาย 2547 บทที่ 10

  3. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ลักษณะและชนิด: • การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ หรือ • การส่งออก-นำเข้า • การลงทุน และการกู้ยืม

  4. ประโยชน์ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศประโยชน์ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การผลิตตามถนัด (Specialization) เป็นไปตามความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ • การขยายขนาดของตลาด • การถ่ายทอดเทคโนโลยี ความรู้ และประสบการณ์ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ  รายได้และการมีงานทำ

  5. ข้อเสียของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศข้อเสียของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกทั้งทางการค้า และการเงิน • การครอบงำของชาวต่างชาติ • ความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างกลุ่มคนที่มีโอกาสต่างกัน ทางการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจ

  6. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การค้าระหว่างประเทศของไทยเพิ่มความสำคัญอย่างเร็ว ดูจากมูลค่าการค้าต่อ GDP

  7. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย โครงสร้างการนำเข้าเปลี่ยนน้อย ส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุน วัตถุดิบ (+น้ำมัน)

  8. โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย

  9. โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย

  10. โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย

  11. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศอุตสาหกรรม • (ญี่ปุ่นมากที่สุด) • ก่อนวิกฤติปี 2540 ประมาณครึ่งหนึ่งนำเข้าจากญี่ปุ่น • สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป (G3) แต่มีสัดส่วน • ลดลงตามเวลา • นำเข้าจากอาเซียนและจีนมากขึ้นในระยะหลัง • เพราะการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

  12. แหล่งสินค้านำเข้าของไทยแหล่งสินค้านำเข้าของไทย

  13. แหล่งสินค้านำเข้าของไทยแหล่งสินค้านำเข้าของไทย

  14. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การส่งออก กระจายทั้งชนิดของสินค้าและตลาด • สินค้าอุตสาหกรรมโตเร็วมาก • สินค้าใช้แรงงานมากมีแนวโน้มลดลง • (เช่น สิ่งทอ รองเท้า เครื่องหนัง) • สินค้าใช้ hi-tech มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • (เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รถยนต์)

  15. โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยโครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย

  16. โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยโครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย

  17. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ต้องพึ่งตลาดในประเทศพัฒนาแล้วประมาณ 50% (สหรัฐฯ สัดส่วนสูงสุด) แต่มีสัดส่วนลดลง • ขายให้อาเซียน จีน และฮ่องกงในสัดส่วนมากขึ้น

  18. ตลาดสินค้าส่งออกของไทยตลาดสินค้าส่งออกของไทย

  19. ตลาดสินค้าส่งออกของไทยตลาดสินค้าส่งออกของไทย

  20. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การค้าบริการ : เกินดุลตลอด • เพราะรายได้จากการท่องเที่ยว • และแรงงานไทยในต่างประเทศ

  21. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ (FDI): • การไหลทะลักของทุนจากญี่ปุ่น และประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs) ในปลายทศวรรษ 1980 • ต่างชาติเข้าซื้อกิจการหลังวิกฤติปี 2540 • ทุนไทยไปต่างประเทศยังน้อย

  22. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • Portfolio investment: • ค่อนข้างผันผวน • มีอิทธิพลมากขึ้นในตลาดหุ้น • และตลาดพันธบัตรไทย • การกู้ยืมจากต่างชาติ : • ก่อนวิกฤติปี 2540 รัฐบาลกู้น้อยลง • แต่เอกชนกู้มากขึ้น • ใช้หนี้คืนมากหลังวิกฤติปี 2540

  23. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • บัญชีเดินสะพัดขาดดุลต่อเนื่องเรื้อรังก่อน 2540 • แต่กลับเกินดุลได้หลังลอยตัวค่าเงินบาทเพราะ ส่งออกได้ดีขึ้นมาก

  24. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ก่อนปี 2540 บัญชีชำระเงิน (Balance of payments) • เกินดุลตลอดเพราะเงินลงทุนและเงินกู้จาก • ต่างประเทศไหลเข้ามามาก • ทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศสะสมมากขึ้น

  25. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย

  26. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • หลังวิกฤติปี 2540 เงินทุนไหลออกมา • (บัญชีทุนติดลบ) เพราะชำระหนี้คืนต่างชาติ • ทุนสำรองฯ ลดฮวบ • แต่ส่งออกได้ดีเพราะเงินบาทลดค่ามาก บัญชี • เดินสะพัดและบัญชีชำระเงินเริ่มเกินดุล • และทุนสำรองฯ เริ่มสะสมขึ้นอีก

  27. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • วิกฤตหนี้ subprime มีผลทำให้การค้าโลกหดตัว • มีผลทำให้ทั้งการส่งออกและการนำเข้าของไทยลดลง • อย่างชัดเจนและกว้างขวางตั้งแต่พฤศจิกายน 2551 • ลดลงทุกกลุ่มสินค้าและเกือบทุกกลุ่มคู่ค้า

  28. อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน (ส่งออก ม.ค.- ก.ย. 51)

  29. อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน (นำเข้า ม.ค.- ก.ย. 51)

  30. อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน (ส่งออก ต.ค.51- มิ.ย. 52)

  31. อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน (นำเข้า ต.ค.51- มิ.ย. 52)

  32. โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • รายได้จากการท่องเที่ยวลดลงมากเพราะ • การปิดสนามบินปลายปี 2551 การเมืองไทยวุ่น • และไข้หวัด 2009 • การนำเข้าของไทยลดลงมากกว่าการส่งออก • บัญชีการค้าและบัญชีเดินสะพัดจึงเกินดุล • เงินสำรองระหว่างประเทศยังเพิ่มขึ้นต่อไป • ล่าสุดกรกฎาคม 2553 อยู่ที่ประมาณ $150 พันล้าน

  33. ดุลการค้า (ล้านบาท)

  34. เงินสำรองระหว่างประเทศยังเพิ่มขึ้นต่อไป เงินสำรองระหว่างประเทศยังเพิ่มขึ้นต่อไป • ล่าสุดกรกฎาคม 2554 อยู่ที่ประมาณ $186 พันล้าน

More Related