1 / 76

“ การปฏิรูประบบราชการกับการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ”

“ การปฏิรูประบบราชการกับการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ”. โดย. นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาการชลประทาน. วิสัยทัศน์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2543 - 2552.

Télécharger la présentation

“ การปฏิรูประบบราชการกับการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูประบบราชการกับการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ” โดย นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาการชลประทาน

  2. วิสัยทัศน์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2543 - 2552 “ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสนับสนุนให้มีการผลิตอาหารเพียงพอและปลอดภัยแก่การบริโภค และเป็นผู้นำของโลกในการส่งออกอาหาร ภายใต้การบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ”

  3. พันธกิจของกระทรวงเกษตร ฯ พันธกิจที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีและความมั่นคงในการประกอบอาชีพ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้เพียงพอแก่การบริโภคทั้งภายในประเทศและการส่งออก พันธกิจที่ 3 เสริมสร้างขีดความสามารถของภาคเกษตรให้สามารถรักษาความเป็นผู้นำในการส่งออกสินค้าอาหารของโลก พันธกิจที่ 4ปรับกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ให้มีลักษณะบูรณาการมากยิ่งขึ้น โดยมีการอนุรักษ์ และพัฒนาอย่างยั่งยืน พันธกิจที่ 5 ปรับปรุงการบริหารองค์การ และพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ให้มีประสิทธิภาพ

  4. ทำไมต้องมีการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทำไมต้องมีการปฏิรูปการบริหารภาครัฐ • ภาครัฐต้องก้าวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม • ความคาดหวังเกี่ยวกับความโปร่งใสและความพร้อมรับผิดที่มีมากขึ้น • ความพร้อมรับผิด จำเป็นต้องมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น • ความไม่พอใจต่อการทุจริตที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ • บทบาทของภาครัฐเปลี่ยนแปลงตามความกดดันใหม่ ๆ • การแข่งขันกับภาคอื่นจะต้องมีแนวคิด นวัตกรรมใหม่ ๆ • ความร่วมมือกันระหว่างหลาย ๆ กลุ่ม • ความต้องการให้ภาครัฐเข้าไปแทรกแซงเรื่องใหม่ ๆ • การเรียกความเชื่อถือ ศรัทธา ในภาครัฐ กลับมาใหม่

  5. เงื่อนไขสำคัญต่อความสำเร็จของการปฏิรูปเงื่อนไขสำคัญต่อความสำเร็จของการปฏิรูป • ระบุวิสัยทัศน์ และพันธกิจของการปฏิรูปให้ชัดเจน • การสร้างให้เกิดความสมดุลระหว่างโอกาสในการปฏิรูป และกลยุทธ์ที่นำมาใช้ • ต้องมีความมั่นใจว่ามีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง • ต้องกำหนดขอบเขตของการปฏิรูป • ต้องตระหนักว่าการปรับปรุงโครงสร้างเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ทั้งหมดของการปฏิรูป

  6. การสร้างความชัดเจนในบทบาทและหน้าที่ของรัฐการสร้างความชัดเจนในบทบาทและหน้าที่ของรัฐ • ตัวอย่าง • รัฐควรจะปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดในรัฐธรรมนูญและอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย • ควรกำหนดเป้าหมายหลักของหน่วยงานให้ชัดเจน • เคลื่อนย้ายภารกิจที่เอกชนดำเนินการได้ • การนำหลักการเชิงพาณิชย์ที่ใช้ในเอกชนมาปรับใช้ในราชการอย่างเหมาะสม

  7. การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์เกี่ยวกับองค์กรการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์เกี่ยวกับองค์กร ศตวรรษที่ 20 ศตวรรษที่ 21 • เสถียรภาพ • ขนาด และขอบเขต • คงที่ ไม่ยืดหยุ่น • มุ่งกระบวนการ • การบูรณาการแนวดิ่ง • มติเอกฉันท์ • ภาวะผู้นำตามลำดับชั้น • การบังคับบัญชา • การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง • ความรวดเร็วและการตอบสนอง • ความต้องการของประชาชน • ยืดหยุ่น • มุ่งผลสัมฤทธิ์ • การบูรณาการอย่างเท่าเทียมกัน • การโต้แย้งอย่างสร้างสรรค์ • ภาวะผู้นำจากภายใน

  8. ปัจจัยเอื้อการปฏิรูปสู่ความสำเร็จปัจจัยเอื้อการปฏิรูปสู่ความสำเร็จ • การนำกลุ่มต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วม ( Stakeholders Participation ) • การสร้างความเข้าใจเพื่อความสำเร็จของการปฏิรูป ( Communication for successful Reform ) • การสนับสนุนของฝ่ายการเมือง ( Political Support ) • หลีกเลี่ยง ” ความอ่อนล้าจากการปฏิรูป ” ( Avoiding Reform Fatigue ) • การสร้างวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลง ( Creating a change Culture )

  9. ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี กระแสโลกาภิวัฒน์ วิกฤติ เศรษฐกิจ การเข้าสู่ สังคมเรียนรู้ ความต้องการ มีส่วนร่วม ของประชาชน แรงผลักดัน การปฏิรูป ระบบราชการ ความเข้มแข็ง ของภาคเอกชน รัฐธรรมนูญใหม่

  10. การทุจริต ประพฤติมิชอบ ความเก่า ล้าสมัย ของระบบ การบริหาร แบบรวมศูนย์ อำนาจ กำลังคน ไม่มีคุณภาพ กฎ ระเบียบ เทคโนโลยี วิธีปฏิบัติงานไม่ทันสมัย สภาพปัญหา ของระบบราชการ ความไม่รับ ผิดชอบ ทุจริต ประพฤติ มิชอบ ปัญหา ประสิทธิภาพ ทัศนคติ ค่านิยม แบบดั้งเดิม ค่าตอบแทน สวัสดิการไม่เหมาะสม

  11. ราชการยุคใหม่ ยึดประชาชนเป็นเป้าหมาย ทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ บริการมีคุณภาพสูง ประสิทธิภาพสูง ทำงานแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีเจ้าหน้าที่ คุณภาพและ คุณธรรม มีวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีม ทำเฉพาะบทบาท ที่จำเป็น ใช้อุปกรณ์ ที่ทันสมัย มีองค์กรที่คล่องตัว กะทัดรัด มีระบบบริหาร บุคคลที่คล่องตัว

  12. การปรับกระบวนการทำงานที่มุ่งบริการประชาชนการปรับกระบวนการทำงานที่มุ่งบริการประชาชน ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายหลัก จุดบริการลูกค้า กองทัพหน้า Knowledge Worker • Day to Day Support • คน วัสดุ เงิน • หล่อลื่น IT กลุ่มสนับสนุน สิ่งแวดล้อมภายนอก ฝ่ายเสนาธิการ • กำหนดยุทธศาสตร์ • จัดสรรทรัพยากร • แก้ปัญหา • กำกับผลงาน • ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรม ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผู้บริหารระดับสูง

  13. ขั้นตอนการทำงานรูปแบบใหม่ขั้นตอนการทำงานรูปแบบใหม่

  14. จะต้องปฏิรูปอะไรบ้าง ปรับบทบาทภารกิจ และโครงสร้างราชการ 1 3 4 ปรับปรุงวิธีการ บริหารงาน ปฏิรูปวิธีการ งบประมาณ ปฏิรูประบบ บุคคล 2 5 ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

  15. การทบทวนบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างส่วนราชการ 9 ก.ค. 44 เสนอต่อที่ประชุม ก.พ. ที่มี ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน 4 - 5 ส.ค. 44 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 ที่พัทยา 28 ก.ย. 44 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 ที่ทำเนียบรัฐบาล 2 พ.ย. 44 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 3 ที่ทำเนียบรัฐบาล 12 พ.ย. 44 ครม.เห็นชอบในหลักการ 17 กระทรวง 1 ทบวง 27 ธ.ค.44 มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี 5 ท่าน ดูแลควบ คุมในด้านต่าง ๆ 12 มี.ค. 45 ครม.มีมติเห็นควรจัดโครงสร้าง ฯ ออกเป็น 20 กระทรวง

  16. การยกร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปการยกร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูป 23 ม.ค.45 ฯพณฯ นายก ฯ ให้ยกร่าง ก.ม.เกี่ยวกับการปฏิรูป 5-10 ก.พ. 45 ประชุมยกร่าง ก.ม.ที่ Ocean marina พัทยา 5 มี.ค.45 เสนอ ครม.พิจารณาร่าง พรบ.ทั้ง 2 ฉบับ 12 มี.ค.45 ครม.เห็นชอบ และให้นำเสนอต่อรัฐสภา 10 เม.ย.45 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่าง พรบ.ระเบียบ ฯ 24 เม.ย.45 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่าง พรบ.ปรับปรุง ฯ 28 มิ.ย.45 สภาผู้แทน ฯ เห็นชอบร่าง พรบ.ระเบียบ ฯ วาระ 2 ,3 1 ก.ค.45 สภาผู้แทน ฯ เห็นชอบร่าง พรบ.ปรับปรุงฯ วาระ 2 ,3 4 ก.ค.45 วุฒิสภารับหลักการร่าง พรบ. ทั้ง 2 ฉบับ 17 ก.ย.45 วุฒิสภาเห็นชอบร่าง พรบ.ระเบียบ ฯ วาระ 2,3 20 ก.ย.45 วุฒิสภาเห็นชอบร่าง พรบ.ปรับปรุง ฯ วาระ 2,3 2 ต.ค.45 ประกาศใช้ พ.ร.บ.ทั้ง 2 ฉบับในราชกิจจานุเบกษา

  17. กฎหมายที่เกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการกฎหมายที่เกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการ • พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ( ฉบับที่ 5 ) พ.ศ.2545 • พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545

  18. สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน ( ฉบับที่ 5 ) พ.ศ.2545

  19. หลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ( ระเบียบสำนักนายก ฯ ปี 2542 ) ( Good Governance ) หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า หลักความ รับผิดชอบ หลักการมีส่วนร่วม

  20. หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management ) 1. การบริหารที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ 2. การบริหารมุ่งประสิทธิภาพ 3. การบริหารที่มุ่งการแข่งขันและให้เอกชนมีส่วนร่วม 4. การบริหารแบบเอกชน 5. การบริหารจัดการที่เน้นองค์กรขนาดเล็ก

  21. การปรับเปลี่ยนไปสู่การบริหารภาครัฐแนวใหม่การปรับเปลี่ยนไปสู่การบริหารภาครัฐแนวใหม่ • แนวเก่า • เน้นกฎระเบียบและ • รายละเอียด • ทำทุกอย่าง • เน้นปัจจัยการผลิต • เพื่อประโยชน์ของราชการ • แนวใหม่ • ให้ความสัมพันธ์แก่นโยบายและการบริหารเชิงกลยุทธ์ • กระจายอำนาจและหาแนวร่วม • เน้นผลผลิต ผลลัพธ์ คุณภาพ • เพื่อประโยชน์ของประชาชน

  22. กรอบความคิดใน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ส่วนกลาง (ส่วนที่ 1) การจัดระเบียบราชการบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบ วิธีการบริหาร เป้าหมาย ผล สัมฤทธิ์ของงาน นโยบาย ราชการในต่างประเทศ วิธีการบริหารแนวใหม่ ส่วนภูมิภาค (ส่วนที่ 2) การจัดระเบียบราชการบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบ กลไกการพัฒนาและจัดระเบียบราชการ ประเทศชาติและประชาชน ส่วนก้องถิ่น (ส่วนที่ 3) การจัดระเบียบ ราชการระดับท้องถิ่น ระบบการติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบ

  23. กรอบความคิดใน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (2) การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)โปร่งใส / เปิดเผยข้อมูล / การมีส่วนร่วม / ความคุมค่าม. ๓/๑ ส่วนกลาง กำหนดนโยบายและเป้าหมายม.๑๐, ๒๐ มีผู้รับผิดชอบ ชัดเจนม.๒๑, ๓๒ ลดขั้นตอนคล่องตัวม.๓/๑ สัมฤทธิ์ผลของงานม. ๓/๑, ม. ๑๐, ๒๐, ม. ๒๑, ม.๓๒ ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรม.๓/๑, ๑๙/๑ มอบอำนาจม.๓๘ อำนาจความสะดวกและสนองตอบความต้องการของประชาชน ม.๓/๑ กลไกการพัฒนาและจัดระเบียบราชการ ม. ๗๑/๑-๑๐ กระจายอำนาจตัดสินใจม.๓/๑ ความคุ้มค่าในการดำเนินการม.๓/๑ การบริหารราชการในต่างประเทศหมวด ๗ แยกงานนโยบายจากปฏิบัติการม. ๒๐,, ม.๒๑, ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการ / ตรวจสอบ ม.๓/๑, ม.๒๑,

  24. หลักการและแนวปฏิบัติบริหารราชการแนวใหม่หลักการและแนวปฏิบัติบริหารราชการแนวใหม่ หลักการตามร่างกฎหมายใหม่ แนวปฏิบัติ กพร. • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ลดภารกิจและหน่วยงานที่ไม่จำเป็น • การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น • การกระจายอำนาจตันสินใจ • อำนวยความสะดวก สนองประชาชน • มีผู้รับผิดชอบจ่อผลงาน • Good Governance • Result Based • Management • P.S.O. • Reengineering • Knowledge Worker • Performance Related Pay • โครงการตามรอยฯ • แผนราชการใสสะอาด

  25. ความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในกระทรวงความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในกระทรวง เสนอแนะแนวทางปฏิบัติ รัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย สำนักงานรัฐมนตรี แปลงนโยบายสู่แผนยุทธศาสตร์ ปลัดกระทรวง บริหาร / ยุทธศาสตร์ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ • จัดสรรและบริหารทรัพยากร • กำกับ ติดตาม • ตรวจสอบและประเมินผล • รายงาน

  26. ความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในกระทรวงความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในกระทรวง เสนอแนะแนวทางปฏิบัติ รัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย สำนักงานรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย แปลงนโยบายสู่แผนยุทธศาสตร์ ปลัดกระทรวง บริหาร / ยุทธศาสตร์ รัฐมนตรีช่วย รัฐมนตรีช่วย หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ • จัดสรรและบริหารทรัพยากร • กำกับ ติดตาม • ตรวจสอบและประเมินผล • รายงาน อนาคต

  27. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมพ.ศ. 2545

  28. พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม • จัดโครงสร้างกลไกราชการใหม่ • วางรากฐานการจัดกลุ่มภารกิจ • การจัดสำนักงานรัฐมนตรีเพื่อสนับสนุนงานของฝ่ายการเมือง หลักการในการปรับปรุงโครงสร้าง • การทบทวนบทบาท ภารกิจของรัฐให้ชัดเจน • การพิจารณาภารกิจที่รัฐพึงกระทำ • การจำแนกรูปแบบหน่วยงานภาครัฐ

  29. หลักการจัดกลุ่มภารกิจบทบาทภารกิจของรัฐหลักการจัดกลุ่มภารกิจบทบาทภารกิจของรัฐ กลุ่มที่ 1 วางยุทธศาสตร์และ นโยบายพัฒนาประเทศ กลุ่มที่ 7 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคม ขนส่ง นิติธรรม กลุ่มที่ 2 สนับสนุนและพัฒนาการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย กลุ่มที่ 8 บริหารรายได้รายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความมีเสถียรภาพทางการเงิน การคลัง คุณธรรม กลุ่มที่ 3 สนับสนุนกิจการส่วนพระองค์ โครงการพระราชดำริ ความโปร่งใส กลุ่มที่ 9 พัฒนาประชากรให้มีสุขภาพ มีความรู้ ความคิด เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้มีคุณภาพ การมีส่วนร่วม กลุ่มที่ 4 ส่งเสริมการผลิตเพื่อสร้างรายได้ และการ แข่งขันในสังคมโลก กลุ่มที่ 10 จัดระเบียบสังคม สร้างความเป็นธรรมในการ ดำรงชีวิต ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสังคม พันธะความ รับผิดชอบ กลุ่มที่ 5 ดูแล พัฒนาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างมีประสิทธิภาพ ดุลยภาพ ความคุ้มค่า กลุ่มที่ 11 กำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ การักษาอธิปไตย การจัดระเบียบสังคม การสร้างความยุติธรรม และสงบสุขในสังคม กลุ่มที่ 6 พัฒนาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อสร้างศักยภาพการในแข่งขัน

  30. รูปแบบหน่วยงานภาครัฐ • กลุ่มกระทรวงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเป็นกระทรวงหลักที่เกี่ยวข้องกับความคงอยู่ของประเทศ มีความต่อเนื่อง มีลักษณะคงที่ (Static) • กลุ่มกระทรวงยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ เป็นกระทรวงที่เน้นนโยบายการพัฒนาประเทศที่สำคัญมีความต่อเนื่องตราบเท่าที่ประเทศและสังคมยังมีความต้องการและยังจำเป็นต้องคงอยู่ • กลุ่มกระทรวงขนาดเล็กเป็นภารกิจสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล เป็นกระทรวงที่มีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamic) สูง สามารถตั้งและปรับเปลี่ยนได้ง่าย เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับรัฐบาลชุดต่าง ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย • กลุ่มภารกิจที่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมายโดยองค์คณะบุคคล(Commission, Board, Council, Committee) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบบริหารภารกิจตามกฎหมาย โดยองค์คณะบุคคล

  31. ชื่อกระทรวงมาตรา ๕ พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ (๑) สำนักนายกรัฐมนตรี (๒) กระทรวงกลาโหม (๓) กระทรวงการคลัง (๔) กระทรวงการต่างประเทศ (๕) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (๖) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ (๗) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๘) กระทรวงคมนาคม (๙) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (๑๐) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (๑๑) กระทรวงพลังงาน (๑๒) กระทรวงพาณิชย์ (๑๓) กระทรวงมหาดไทย (๑๔) กระทรวงยุติธรรม (๑๕) กระทรวงแรงงาน (๑๖) กระทรวงวัฒนธรรม (๑๗) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (๑๘) กระทรวงสาธารณสุข (๑๙) กระทรวงสาธารณสุข (๒๐) กระทรวงอุตสาหกรรม

  32. การปฏิรูประบบราชการ จึงเป็นกุญแจสำคัญในการสร้างกลไกพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้มั่งคั่งและมั่นคง • High Performance Economy • เศรษฐกิจแข็งแกร่ง • สังคมน่าอยู่ • การเมืองโปร่งใส ชอบธรรม • High Performance Government • ตอบสนอง ทันการ ทันสมัย • วัดผลได้ สร้างความพึงพอใจ • ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด • High Performance Civil Service • บทบาทภารกิจ โครงสร้างเหมาะสม ทันสมัย • กระบวนการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ • ทรัพยากรบุคคลมีคุณภาพ

  33. อำนาจในการบริหารงาน ราชการแผ่นดิน

  34. อำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดิน อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ อำนาจการตรวจสอบ รัฐสภา ศาล นรม. / ครม. - กกต. ( คณะกรรมการการเลือกตั้ง ) - ปปช. ( สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ) - ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา - คตง. ( คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ) ( รัฐธรรมนูญ / พรบ.ประกอบ รัฐธรรมนูญ ) ( รัฐธรรมนูญ / พระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม / กฎหมายวิธี พิจารณาความ) - สนง.เลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร - สนง.เลขาธิการวุฒิสภา ( รธน./พรบ. ระเบียบ ปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ.2518 ) รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน

  35. การทำให้กฎหมายมีเอกภาพ - กฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าย่อมมีผลบังคับได้ ในกรณีขัดแย้งกัน - ศักดิ์ของกฎหมายดูที่ศักดิ์ขององค์กร ผู้มีอำนาจก่อตั้งระบบ รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร และองค์กรทางการเมือง รัฐสภา พรบ. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ประมวลกฎหมาย คณะรัฐมนตรี พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง องค์กรปกครองท้องถิ่น ข้อบัญญัติท้องถิ่น

  36. การปฏิรูประบบ การจำแนกตำแหน่ง

  37. ปัจจุบัน ปรับปรุงใหม่ กลุ่ม สนับสนุน การบริหาร สายงานธุรการ สายงานพนักงานธุรการ สายงาน จ.บริหารงานธุรการ สายงาน บริหารทั่วไป สายงานบันทึก ข้อมูล สายงานพิมพ์ดีด ( C ) ( A ) ( B)

  38. การจัดระดับงานในกลุ่มการจัดระดับงานในกลุ่ม Brand 5 Brand 4 Brand 4 Brand 4 SES Brand 3 Brand 3 Brand 3 Brand 3 Brand 3 Brand 2 Brand 2 Brand 2 Brand 2 Brand 2 Brand 1 Brand 1 Brand 1 Brand 1 Brand 1 บริหารและ วิชาชีพทั่วไป วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สนับสนุนการ บริหาร เทคนิค ทักษะเฉพาะ

  39. การถ่ายโอนภารกิจกรมชลประทานให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการถ่ายโอนภารกิจกรมชลประทานให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านก่อสร้าง ด้านบำรุงรักษา 1.การดูแลรักษาทางน้ำ 2. การบำรุงรักษาทางชลประทาน 3. โครงการขุดลอกหนองน้ำและ คลองธรรมชาติ 4. งานจัดสรรน้ำในระดับแปลงนา หรือคันคูน้ำ 5. งานสูบน้ำนอกเขตชลประทาน 1. การดูแลรักษาปรับปรุงโครงการ ขนาดเล็ก 2. การดูแลปรับปรุงโครงการชล ประทานระบบท่อ

  40. ในอนาคตเราต้องเข้าหาลูกค้า เหล่านี้ ประชาชนมักจะมาขอความช่วยเหลือโดยตรง ทำให้หน่วยงานอื่นไม่ทราบว่า เรากำลังทำอะไรอยู่ การประสานงานและภารกิจในส่วนภูมิภาค เกษตรกร / ลูกค้า ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง กลุ่มภารกิจ บริหารจัดการทรัพยากรเพื่อ การผลิต จังหวัด ( เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ) ในระดับจังหวัด สชป. อำเภอ ( เกษตรอำเภอ ) ในระดับอำเภอ ตำบล ( เกษตรตำบล ) ในระดับตำบล ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยี ประชาชน ชคบ. / ชคป. ผจค.

  41. การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ของกรมชลประทาน

  42. อธิบดีกรมชลประทาน รองอธิบดี 4 ตำแหน่ง วิศวกรใหญ่ ฯ 10 วช. 4 ตำแหน่ง นายช่างใหญ่ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ วิศวกรใหญ่ฝ่ายช่างกล กลุ่มกิจกรรมพิเศษ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักวิจัยและพัฒนา สำนักพัฒนาโครงสร้าง ฯ ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานเลขานุการกรม สำนักสำรวจด้านวิศวกรรม ฯ สำนักบริหารโครงการ สำนักงานจัดรูปที่ดินกลาง กองการเงินและบัญชี สำนักออกแบบวิศวกรรม ฯ สำนักโครงการขนาดใหญ่ กลุ่มตรวจสอบภายใน กองแผนงาน สำนักอุทกวิทยา ฯ สำนักชลประทานที่ 1 - 16 กองพัสดุ สำนักเครื่องจักรกล กองกฏหมายและที่ดิน

  43. สำนักชลประทานที่ 1 - 16 ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนวิศวกรรมบริหาร ส่วนจัดสรรน้ำและ บำรุงรักษา ส่วนปฏิบัติการ ส่วนเครื่องจักรกล • กลุ่มพิจารณาวางโครงการ • กลุ่มออกแบบ • กลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา • ฝ่ายสำรวจภูมิประเทศ • ฝ่ายจัดการความปลอดภัยเขื่อน • ฝ่ายตรวจสอบและวิเคราะห์ ด้านวิศวกรรม • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณด้าน จัดสรรน้ำ • ฝ่ายบริหารและจัดการน้ำ • ฝ่ายส่งเสริมการใช้น้ำ • ฝ่ายวางแผนปรับปรุงและบำรุงรักษา • ฝ่ายปรับปรุงและบำรุงรักษาทาง ชลประทาน • ฝ่ายวางแผนและแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ • ฝ่ายแผนงานและงบประมาณด้านก่อสร้าง • ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า • ฝ่ายปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ • ฝ่ายโครงการพิเศษ • ฝ่ายวิศวกรรมเครื่องกล • ฝ่ายปฏิบัติการช่างกล • ฝ่ายปฏิบัติการเครื่อง จักรกลงานดิน • ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำ โครงการชลประทาน ( จังหวัด ) โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการปฏิบัติการ คันคูน้ำ โครงการก่อสร้าง 1 - 2 • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรม • ฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน • ฝ่ายช่างกล • ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา • - งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรม • ฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน • ฝ่ายช่างกล • ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรมบริหาร • ฝ่ายประสานการปฏิบัติการ • งานบริหารทั่วไป • ฝ่ายวิศวกรรม • ฝ่ายปฏิบัติการก่อสร้าง • ฝ่ายส่งเสริมกิจกรรมต่อเนื่อง • ฝ่ายช่างกล • งานบริหารทั่วไป • กลุ่มงานวิศวกรรมบริหาร • กลุ่มงานก่อสร้าง 1 - 5 • กลุ่มงานปฏิบัติการ เครื่องกล

  44. งบประมาณรายจ่ายปี 2546 ของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรียงจากมากไปหาน้อยในแต่ละหมวด , หน่วย : ล้านบาท

  45. 28,799 ล้านบาท ( 50 % ) เปรียบเทียบงบประมาณของกรมต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  46. 6,291 ล้านบาท งบประมาณด้านบุคลากร

  47. 536 ล้านบาท งบดำเนินการ

  48. งบลงทุน 21,670 ล้านบาท

More Related