1 / 12

ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี

ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี ในการประชุมลงนาม MOU 8 กันยายน 2557. วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ รพสต.ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง. ในรพสต.) ของจังหวัดอุดรธานี.

ila-reeves
Télécharger la présentation

ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง.) จังหวัดอุดรธานี ในการประชุมลงนาม MOU 8 กันยายน 2557 วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาประสิทธิภาพ รพสต. 1.เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ รพสต.ที่ประสบปัญหาทางการเงิน (พปง. ในรพสต.) ของจังหวัดอุดรธานี 2.เพื่อให้การช่วยเหลือ รพสต.ที่มีค่าใช้จ่าย Fixed Cost สูง การเงินติดลบ 3.เพื่อจัดทำพิธีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือมาตรการพปง.ของรพสต. (MOU)

  2. สภาพปัญหาในรพสต.ที่ขอ CF จังหวัด 1. ภาพรวมค่าใช้จ่าย Fixed Cost เฉลี่ยเดือนละ 85,000 – 255,000 บ. 1.1 ค่าใช้จ่ายค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว เฉลี่ยเดือนละ 50,000 – 200,000 บ. 1.2 ค่าใช้จ่ายตอบแทน OT เฉลี่ยเดือนละ 30,000 – 40,000 บ. 1.3 ค่าสาธารณูปโภค เฉลี่ยเดือนละ 3,000 – 10,000 บ. 1.4 ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง เฉลี่ยเดือนละ 2,000 – 5,000 บ. 2. ภาพรวมรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 80,000 – 220,000 บาท รายรับรอบ 10 เดือน มีดังนี้ 2.1 รายรับ UC เฉลี่ย 600,000 - 1,200,000 บาท 2.2 รายรับ QOF เฉลี่ย 150,000 – 500,000 บาท 2.3 รับจัดสรรเงิน CF จาก CUP เฉลี่ย 50,000 – 200,000 บาท 2.4 รับจากกองทุนตำบล เฉลี่ย 50,000 – 200,000 บาท 2.5 รับจากผู้ป่วยจ่ายเงินเอง เฉลี่ย 10,000- 50,000 บาท 2.6 รับจากกองทุนแพทย์แผนไทย 2,000 – 30,000 บาท สรุปคือ รายได้ต่ำกว่ารายจ่าย เฉลี่ยเดือนละ 5,000 – 35,000 บาท

  3. ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ CFO จังหวัด 1. ด้านการจ่ายเงิน CF จังหวัด ขั้นที่ 1. ให้ช่วยเหลือกันในระดับ CUP ขั้นที่ 2. ให้ขอเงิน CF โซน ขั้นที่ 3. ให้สรุปการช่วยเหลือขั้นที่ 1 และ 2 และแจ้งยืนยันการขอเงิน CF ไปยังจังหวัด ขั้นที่ 4. จังหวัดเสนอข้อมูลต่อผู้บริหาร เพื่อพิจารณาจ่ายเงิน CF จังหวัด พร้อมทั้งจัดทำข้อตกลงเข้าโครงการ พปง.ของจังหวัด 3

  4. 2. ด้านการบริหารการเงิน ของระดับ CUP และรพสต.เครือข่าย 2.1 ให้สาธารณสุขอำเภอทำหน้าที่กำกับรายจ่ายของรพสต. 2.2 ให้รพสต.จัดทำแผนงบประมาณประจำปีแบบติดบวก 2.3 ให้ผอ.รพสต. กำกับวิเคราะห์รายได้-ค่าใช้จ่าย เป็นรายสัปดาห์ 2.4 ในระดับ CUPให้แต่ละรพสต.สรุปปัญหาการขาดสภาพคล่องทุกเดือน นำเข้าที่ประชุมคปสอ.เพื่อแก้ไขปัญหา 2.5 ให้ คปสอ. ตรวจสอบเงินโอนรับค่าแรง เงินเดือน และค่าตอบแทนต่างๆ ที่สปสช.โอนให้ว่าสอดคล้องกับจำนวนค่าใช้จ่ายบุคลากรที่มีอยู่จริงหรือไม่ 2.6 ให้หารายได้เพิ่มจากงานบริการที่สามารถเรียกเก็บจาก สปสช. เช่น แพทย์แผนไทย ANC ภาระงาน หรือ QOF เป็นต้น 4

  5. เกณฑ์การพิจารณาให้เงิน CF พปง. ในรพสต.ของกม. CFO โดยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด อนุมัติวงเงิน 2,000,000 บาท • พิจารณาให้รพ.สต.ที่ • เงินบำรุงคงเหลือ ต่ำกว่า 100,000บาท • 2) ประชากร ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม • 3) พิจารณาจำนวนเงินช่วยเหลือขั้นต่ำคูณด้วย 4 เดือน จากค่าใช้จ่าย Fixed Cost ของรพสต. ที่ขอเงิน CF มาที่จังหวัด ตามที่จ่ายจริง ผลการพิจารณาให้ CF จำนวน 18 แห่ง รายชื่อดังนี้

  6. พิจารณาให้การช่วยเหลือ CF รพสต. รวม 18 แห่ง

  7. ขั้นตอนมาตรการพปง. ในรพสต. • ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือมาตรการพปง.ของรพสต. (MOU) • รพสต. ต้องพัฒนาประสิทธิภาพ ตามมาตรการที่กำหนดไว้ • ในโครงการพปง.ของจังหวัด แบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1.ระยะเวลา กันยายน 2557 เป็นต้นไป -รพสต. ต้องส่งงบทดลองได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลาทุกเดือน การวัดผล ส่งงบทดลองได้ทันภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป

  8. ระยะที่2.ช่วงระยะเวลา 1ตุลาคม–31ธันวาคม2557 - ลดรายจ่ายทุกหมวด ให้ไม่เกินค่าเฉลี่ยของกลุ่ม - เพิ่มรายรับทุกหมวด ให้รายรับรวมไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม - งดการประชุม อบรม ทำแผน ศึกษาดูงาน ทุกชนิด ยกเว้นงานนโยบายสำคัญ - งดการก่อสร้าง ต่อเติม การซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ ที่ไม่จำเป็นทุกชนิด - ปรับอัตรากำลังให้เหมาะสม รวมทั้งการจัดเวรต่างๆ ให้สอดคล้องกับปริมาณงาน 9

  9. ระยะที่3.ช่วงระยะเวลา 1 มกราคม 2558 ลดค่าตอบแทนบุคลากรที่ใช้จากเงินบำรุง (OT และอื่นๆ) - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 20 % - เจ้าหน้าที่ 10 % - คนงาน 5% การวัดผลจนกว่ารายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 10

  10. ระยะที่4.ช่วงระยะเวลา เริ่ม 1 เมษายน 2558 หากไม่สามารถดำเนินการได้ในไตรมาสที่ 2/2558 ให้มอบอำนาจการบริหารจัดการทั้งหมดให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบริหารงานแทน การวัดผลจนกว่าจะได้รับการประเมินจากคณะกรรมการ CFO จังหวัดอุดรธานี 11

  11. เมื่อเข้าใจตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเมื่อเข้าใจตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โปรดลงนาม

More Related