1 / 119

จังหวัดลำปาง

จังหวัดลำปาง. นพ.คำรณ ไชยศิริ ผู้ตรวจราชการฯเขตบริการสุขภาพที่ 1. นพ. สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล สาธารณสุข นิเทศก์ เขตบริการสุขภาพที่ 1. ทีมตรวจราชการฯ และนิเทศงานทุกท่าน. การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ กระทรวงสาธารณสุข. เครือข่ายบริการที่ 1 จังหวัดลำปาง. รอบที่ 1 / 2557

illias
Télécharger la présentation

จังหวัดลำปาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จังหวัดลำปาง

  2. นพ.คำรณ ไชยศิริ ผู้ตรวจราชการฯเขตบริการสุขภาพที่ 1 นพ.สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล สาธารณสุขนิเทศก์เขตบริการสุขภาพที่ 1 ทีมตรวจราชการฯ และนิเทศงานทุกท่าน

  3. การตรวจราชการและนิเทศงานการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ กระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายบริการที่ 1 จังหวัดลำปาง รอบที่ 1 /2557 15 -17 มกราคม 2557

  4. ข้อมูลทั่วไป จังหวัดลำปาง

  5. จ.เชียงราย N จ.พะเยา วังเหนือ จ.เชียงใหม่ งาว เมืองปาน แจ้ห่ม จ.ลำพูน แม่เมาะ เมืองลำปาง ห้างฉัตร เสริมงาม แม่ทะ เกาะคา จ.แพร่ สบปราบ เถิน จ.สุโขทัย แม่พริก จ.ตาก จังหวัดลำปาง การปกครอง 13 อำเภอ 100 ตำบล 931หมู่บ้าน 104 ชุมชน 39 เทศบาล 62อบต. ประชากร 275,306 ครัวเรือน755,732 คน ( 1 กค.56)

  6. รพศ. รพช. M2 รพช. F2 สถานบริการสาธารณสุข จ.เชียงราย N รพศ. (800 เตียง) 1 แห่ง (รพ.ตติยภูมิ, Excellent center อุบัติเหตุ, มะเร็ง หัวใจ ทารกแรกเกิด) วังเหนือ จ.พะเยา จ.เชียงใหม่ เมืองปาน งาว แจ้ห่ม จ.ลำพูน รพ.ชุมชน 12 แห่ง (รพ.M2 :2 แห่ง เถิน , เกาะคา ) รพช.F2 : 10 แห่ง แม่เมาะ เมืองลำปาง ห้างฉัตร เกาะคา เสริมงาม แม่ทะ จ.แพร่ สบปราบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 141 แห่งสถานบริการสาธารณสุขชุมชน4 แห่ง เถิน แม่พริก จ.สุโขทัย จ.ตาก

  7. ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดลำปาง (ธันวาคม 2556)

  8. สถานะสุขภาพจังหวัดลำปางปีงบประมาณ 2556

  9. โ ค ร ง ส ร้ า ง ป ร ะ ช า ก ร 2542 2556 ปิรามิดประชากร 2552 ผู้สูงอายุ 17.19 % ชาย 49.21 % หญิง 50.79 % 5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 73 ปี อายุขัยเฉลี่ย ชาย 71 ปี หญิง 76 ปี ประเทศ ปี 53 อายุขัยเฉลี่ย 75 ปี (ช. 71.9 ญ. 78.8) ภาคเหนือ 74 ปี (ช. 70.87 ญ. 77.49 ) แหล่งข้อมูล: สำนักทะเบียนราษฎร์กลาง กระทรวงมหาดไทย

  10. อัตราเกิด อัตราตาย ต่อประชากรพันคนจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2538– 2556 อัตรา 10

  11. สถิติชีพจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2556 อัตราเกิด (: พันปชก.) 6.3 (4,763 ราย) อัตราตาย (: พันปชก.) 8.58 (6,486 ราย) อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) - 0.23 อัตราเกิดไร้ชีพ (:พันการคลอด) 4.62 (26 ราย) อัตราทารกตายปริกำเนิด (:พันการคลอด) 6.51 (25 ราย) อัตราทารกตาย (: พันเกิดมีชีพ) 6.51 (27 ราย) อัตรามารดาตาย (: แสนเกิดมีชีพ) 62.98 ( 3 ราย) อัตราเด็ก 0-4 ปีตาย(:พันเกิดมีชีพ) 8.82 (30 ราย)

  12. อัตราตายของประชากร จำแนกตามสาเหตุการตาย จังหวัดลำปาง ของปีงบประมาณ 2553-2556 อัตรา:แสน ไตวาย Septicemia เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งทุกชนิด แหล่งที่มา : รายงานการตายเขตรับผิดชอบ และ มรณะบัตร

  13. อัตราตายของประชากร จำแนกตามเพศ จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2556 อัตราต่อแสน ปชก.

  14. อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2556 อัตรา:แสน มะเร็ง ต่อมลูกหมาก มะเร็งเต้านม มะเร็ง เม็ดเลือดขาว มะเร็ง ต่อมน้ำเหลือง มะเร็ง กระเพาะอาหาร มะเร็ง ปากมดลูก มะเร็ง ลำไส้ใหญ่ มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็ง สมอง แหล่งที่มา : รายงานการตายเขตรับผิดชอบ และ มรณะบัตร

  15. อัตราป่วยโรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จ.ลำปาง พ.ศ.2555-2556 อัตรา: แสนประชากร

  16. สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพสำคัญสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพสำคัญ ปีงบประมาณ 2556

  17. อัตราป่วยวัณโรค จังหวัดลำปาง อัตรา:แสน แหล่งข้อมูล: กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.ลำปาง

  18. Success rate ของวัณโรค จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2551 - 2555

  19. อัตราป่วยไข้เลือดออก จังหวัดลำปางพ.ศ. 2546-2556 อัตรา:แสน

  20. ผลการดำเนินงานควบคุมการระบาดซ้ำของไข้เลือดออกผลการดำเนินงานควบคุมการระบาดซ้ำของไข้เลือดออก หมู่บ้านเกิดโรคไข้เลือดออก 656 หมู่ ร้อยละ 67.7 ควบคุมโรคไม่ให้เกิดโรคระลอก 2361 หมู่ ร้อยละ 55.03

  21. ปัญหาสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ปี 2556 โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ อนามัยแม่และเด็ก

  22. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ

  23. 1. การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย

  24. กลุ่มสตรีและเด็ก

  25. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง อัตราทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เกณฑ์ :ไม่เกินร้อยละ 7

  26. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง อัตราการขาดออกซิเจน ในทารกแรกคลอด ที่ 1 นาที เกณฑ์ :ไม่เกิน 30: พันเกิดมีชีพ อัตราทารกขาดออกซิเจนแรกคลอด ที่ 1 นาทีจำแนกตามปัจจัยสาเหตุ จังหวัดลำปาง ปี 2556 ไม่ทราบสาเหตุ 11.72% อัตรา: พันการเกิดมีชีพ มารดาที่มีความเสี่ยง 11.72% การคลอดและการทำคลอด 53.12% ตัวเด็ก 23.44%

  27. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง ANC ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 56.08 ANC ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 67.17 รพ.ผ่านเกณฑ์รพ.สายใยรักฯ ระดับทอง 100% คลินิก ANC/LR/WCC ผ่านเกณฑ์100% (ประเมินตนเอง) อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 59.62 เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย จำนวน161 คน ได้รับการติดตามดูแล 151 คน(ร้อยละ 93.79) ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1,2 และ 5 ปีสูงกว่าเกณฑ์

  28. วิเคราะห์สาเหตุ • ตั้งแต่ปี 2553 สาเหตุการตายจาก indirect caused ทั้งหมด (กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคประจำตัว อ้วน) • ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ยังต้องเพิ่มความครอบคลุม • แม่อายุน้อย • คุณภาพบริการ ???(ANC / LR ) ทั้งรพ.และรพ.สต./ทั้งเชิงรุกและรับ • ระบบส่งต่อกรณีฉุกเฉิน ?? แม่ตาย ทารกตาย พัฒนาการและโภชนาการ • คุณภาพบริการ ??? (WCC)โดยเฉพาะการประเมินพัฒนาการ • การพัฒนาคุณภาพศูนย์เด็ก • การติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

  29. แนวคิด ทารกตาย มารดาตาย แม่มีภาวะเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด ตกเลือดหลังคลอด ก่อนตั้งครรภ์ หลังคลอด ระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด สื่อสาร/รณรงค์ (กลุ่มเสี่ยง/วัยรุ่น) NICU การดูแลหลังคลอด Early ANC LR คุณภาพ ระบบปรึกษา/ส่งต่อ ภาวะฉุกเฉิน ANC คุณภาพ ระบบดูแลที่บ้าน WCC คัดกรองภาวะเสี่ยง HHC ระบบให้การปรึกษา ศักยภาพ NB,C/S การดูแลสุขภาพแม่ที่เสี่ยง ระบบให้การปรึกษาในคลินิกต่างๆ ชุมชน/สถานศึกษา/สถานบริการ รพ./รพ.สต. รพ. รพ./รพ.สต./อสม./นสค. MCH Board

  30. กลุ่มวัยเรียน

  31. การประเมินภาวะโภชนาการ(น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง) สถานการณ์จังหวัดลำปาง ระดับดีและสมส่วน ร้อยละ 85.00 ภาวะอ้วน ร้อยละ 5.28 ภาวะเริ่มอ้วน ร้อยละ 5.28 ภาวะผอม ร้อยละ 4.44 เกณฑ์ : ร้อยละของเด็กนักเรียนเป็นโรคอ้วน (ไม่เกิน 15)

  32. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง เด็กต่ำกว่า 12 ปีฟันผุ ร้อยละ 51 (เกณฑ์55) โรงเรียนปลอดน้ำอัดลมฯ ร้อยละ 71 (เกณฑ์75) กินขนมกรุบกรอบเป็นประจำ ร้อยละ 57 ดื่มน้ำหวานเป็นประจำ ร้อยละ 22.18 มาตรฐานบริการวัคซีนและคุณภาพการบันทึกข้อมูล ยังต้องมีการพัฒนา สำรวจ IQ เมื่อปี 2554 เด็กนักเรียนลำปางมี IQ เท่ากับ 106 จุด ประเด็นพัฒนา - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - โรงเรียนอาหารปลอดภัยปลอดโรค

  33. กลุ่มวัยรุ่น

  34. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง อัตราแม่อายุต่ำกว่า 20 ปี คลอด จังหวัดลำปาง อัตราการแท้งในกลุ่มอายุกว่า 20 ปี จังหวัดลำปาง ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 15-19 ปี แหล่งข้อมูล : รายงานอนามัยแม่และเด็ก

  35. อัตราป่วยโรคหนองในของกลุ่มวัยรุ่น จำแนกรายกลุ่มอายุปี พ.ศ.2551 – 2556 สถานการณ์จังหวัดลำปาง อัตราการใช้ถุงยางอนามัยนักเรียนมัธยมศึกษาชาย จ.ลำปาง อัตรา :แสน ร้อยละ ข้อมูล จากการสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในกลุ่มนักเรียน/นักศึกษาจ.ลำปาง

  36. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง อัตราแม่อายุต่ำกว่า 20 ปี คลอด จังหวัดลำปาง สูงขึ้นเล็กน้อยแต่ยังต่ำกว่าเกณฑ์ อัตราการเคยมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียน/นักศึกษาลดลง อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียน/นักศึกษาทั้งชายและหญิงเพิ่มขึ้น อัตราป่วยกามโรค(หนองใน) เริ่มลดลง พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ สัมพันธ์กับการดื่มสุรา/มึนเมา/สารเสพติด สำรวจข้อมูลกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป 7,000 คนดื่มสุรา 981 คน(13.23%) มี Psychosocial Clinic ผ่านการประเมินทุกรพ.(100%) เชื่อมโยงคลินิกวัยรุ่น /สถานศึกษา/ชุมชน

  37. ประเด็นที่ต้องพัฒนา • โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น • ประสาน/ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านคณะกรรมการอนามัยเจริญพันธุ์ทั้งระดับจังหวัดและอำเภอ และชมรม TO BE NUMBER ONE • พัฒนาศักยภาพทีมงานระดับอำเภอ (ทักษะการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว) • พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน • พัฒนาทักษะการดูแลตนเอง (แม่วัยใส) • จัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกันฯร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ • เชื่อมโยงระบบช่วยเหลือ (สถานศึกษา –ชุมชน – สถานบริการ) • เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  38. กลุ่มวัยทำงาน

  39. สถานการณ์วัยทำงานจังหวัดลำปางสถานการณ์วัยทำงานจังหวัดลำปาง โรคมะเร็งเป็นสาเหตุตายอันดับหนึ่ง อัตราตาย ตั้งแต่ปี 2553-2556 มีแนวโน้มลดลง (จาก 70.27 เป็น 64.65 ต่อแสนประชากร ) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ตั้งแต่ปี 2553-2556 มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย (จาก 9.80 เป็น 8.75 ต่อแสนประชากร ) อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (จาก 16.39 ต่อแสนประชากร ปี 2553 เป็น 24.15 ในปี 2556) การตายจากอุบัติเหตุจราจร มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย อัตราความชุกของนักดื่ม อายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 43.5 (เป็นลำดับที่ 8 ของประเทศ) สาเหตุการเสียชีวิตของประชากรวัยทำงานที่เกิดจากอุบัติเหตุ ส่วนหนึ่งเกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์ขณะขับขี่ยานพาหนะ

  40. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง COPD หัวใจขาดเลือดและ โรคหลอดเลือดสมองจังหวัดลำปาง ปี 2552-2556 อัตรา:แสน ปีงบฯ แหล่งข้อมูล : 12 แฟ้ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง

  41. อัตราตายด้วยอุบัติเหตุ ในกลุ่มวัยทำงาน จำแนกตามเพศ ปี 2553-2556 จังหวัดลำปาง ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร อัตรา:แสน

  42. กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ

  43. สถานการณ์จังหวัดลำปางสถานการณ์จังหวัดลำปาง จำนวนผู้สูงอายุ 122,105 คน ชมรมผู้สูงอายุ 1,005 ชมรม ร้อยละ 98.24 (เป้าหมาย 1,007 ชมรม) ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรม104,811 คน ( 85.87%) คลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการในรพ.ลำปาง = ผ่านเกณฑ์ กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยม ร้อยละ 93.94

  44. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้สูงอายุอัตราตายโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้สูงอายุ อัตรา:แสน

  45. สถานการณ์วัยสูงอายุจังหวัดลำปางสถานการณ์วัยสูงอายุจังหวัดลำปาง • ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 0.77 (722 คน) และโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 4.73 (จำนวน 373 คน ) • สาเหตุการตาย3 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง มะเร็งทุกชนิด และโรคเรื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง • การตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ทุกโรค มีแนวโน้มลดลง • อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดในสมอง187.82 ต่อแสนประชากรสูงอายุ ต่ำกว่าเป้าหมาย(190 ) • มีการดำเนินงานพัฒนาตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ครอบคลุมทุกอำเภอ • มีเครือข่ายอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ทุกอำเภอ จำนวน 7,765 คน

  46. สถานการณ์ : ผู้พิการ ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด) 302 คน ได้รับบริการครบถ้วน 155 คน ร้อยละ 51.32 ผู้พิการต้องการใส่ขาเทียม 118 คน ร้อยละ 39.07

  47. แผนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพฯตามกลุ่มวัยแผนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพฯตามกลุ่มวัย

  48. พัฒนาระบบบริการ • ANC คุณภาพ (รพ.สต.และรพ.) • Prolonged labour • ระบบปรึกษาฉุกเฉิน (LR) • ระบบส่งต่อ • เพิ่ม Normal Labour ในรพช.

  49. พัฒนามาตรฐานการให้บริการวัคซีนและระบบข้อมูลบริการพัฒนามาตรฐานการให้บริการวัคซีนและระบบข้อมูลบริการ

  50. พัฒนาคุณภาพระบบบริการ และเพิ่มศักยภาพการรักษา(Service Plan) พัฒนาระบบข้อมูล

More Related