1 / 123

โทน

การออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ WEEK 3. COLOR THEORY. ทฤษฎีสีกับการออกแบบสื่อสารสนเทศ. โทน. การจัดโครงสี. จิตวิทยาการใช้สี. การเลือกโทน. IST. School of Information Technology Institute of Social Technology. SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY. C O L O R T H E O R Y.

Télécharger la présentation

โทน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ WEEK 3 COLOR THEORY ทฤษฎีสีกับการออกแบบสื่อสารสนเทศ โทน การจัดโครงสี จิตวิทยาการใช้สี การเลือกโทน IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  2. COLORTHEORY If you, unknowing, are able to create masterpieces in color, then unknowledge is your way. But if you are unable to create masterpieces in color out of your unknowledge, then you ought to look for knowledge.” Johannes Itten“ COLOR THEORY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  3. COLORTHEORY • สีเป็นองค์ประกอบที่มีผลต่อ • การเห็น • ความรู้สึก • การแสดงออก COLOR THEORY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  4. WHAT ISCOLORSGOOD FOR? • ถ่ายทอดอารมณ์และความหมาย • เปลี่ยนความรู้สึกสัมผัสที่มีต่อที่ว่าง • เปลี่ยนขนาด • แสดงความเหมือนและความต่าง • จัดกลุ่ม • เชื่อมโยงองค์ประกอบ • ดึงดูดความสนใจ • เพิ่มความนุ่มนวลให้กับภาพ • ทำให้เกิดสุนทรียภาพทางอารมณ์และความรู้สึก COLOR IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  5. When and Where to Use COLORS? • Use color to explain, not to decorate. • Color can contribute to your audience’s ability to • understand your message. COLOR IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  6. Use color to explain, not to decorate. COLOR IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  7. Use color to explain, not to decorate. COLOR IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  8. Use color to explain, not to decorate. COLOR IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  9. Use color to explain, not to decorate. COLOR Quarterly Fiscal Meeting Notes IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  10. When and Where to Use COLORS? • Use color to establish patterns and set expectations. • You can use color to draw attention to important • or additional information. COLOR IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  11. Use color to establish patterns and set expectations. COLOR Hiking c l u b December 2001 IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  12. Use color to establish patterns and set expectations. COLOR IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  13. Use color to establish patterns and set expectations. COLOR IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  14. When and Where to Use COLORS? • Use color to enhance and clarify the information • you’re presenting. • Color can focus your reader’s attention. • Assign color to information that you want to be • noticed first. COLOR IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  15. Use color to enhance and clarify the information • you’re presenting. COLOR Book of the Week Title: Author: Review: Special Value 30% off IST SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  16. Use color to enhance and clarify the information • you’re presenting. COLOR IST

  17. When and Where to Use COLORS? • Use color sparingly; remember that less is more. • A simple color scheme creates a unified document. • The more colors you use, the harder it is for • your reader to remember what different color • represent. COLOR IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  18. Use color sparingly; remember that less is more. COLOR 1 2 3 4 5 6 7 8 9 9 P. O. Box 1234 Camas. WA P. O. Box 1234 Camas. WA 1 2 3 4 5 6 7 8 9 9 P. O. Box 1234 Camas. WA 1 2 3 4 5 6 7 8 9 9 IST

  19. คุณลักษณะของสี (TONE) • โทน (TONE) เป็นการอธิบายถึงคุณลักษณะของสี : • สี (HUE) • น้ำหนักของสี (VALUE/BRIGHTNESS) • ความสดของสี (INTENSITY/SATURATION/CHROMA) COLOR THEORY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  20. HUE/ BRIGHTNESS / SATURATION COLOR < SATURATION > < BRIGHTNESS > < HUE > IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  21. คุณลักษณะของสี (TONE) • แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ • โทนไร้สี (Achromatic) คือ โทนที่เป็นกลาง (Neutral Tone) แสดงเฉพาะน้ำหนัก สว่าง/มืด เป็นค่า ขาว เทา ดำ • โทนสี (Chromatic) คือ สีต่าง ๆ ประกอบด้วย สี น้ำหนักของสี และความสดของสี COLOR THEORY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  22. สี (HUE) • HUE คือ ความแตกต่างระหว่างสีแต่ละสี ซึ่งเรียกเป็นชื่อสี เช่น สีแดง สีแสด สีเหลือง สีเขียว ฯลฯ • แบ่งเป็น 2 ประเภท • สีของแสง (Colored Light) • สีของสาร (Colored Pigment) TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  23. สี (HUE) สีของแสง(Colored Light) หมายถึง ความแตกต่างสั้นยาวของคลื่นแสงที่เรามองเห็น เริ่มด้วย แสงสีม่วงที่มีคลื่นสั้นที่สุด (380 nm.) ลำดับตามของรุ้งกินน้ำและจบลงที่แสงสีแดงซึ่งมีคลื่นยาวที่สุด (760 nm.) TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  24. สี (HUE) • แม่สีของแสง หมายถึง สีของแสงที่เป็นต้นกำเนิดของแสงสีอื่น ๆ จากการแยกแสงสีขาวด้วยปริซึม สีที่ปรากฏจะเป็นสีรุ้ง และเมื่อรวมกันจะกลับเป็นแสงขาวได้ คลื่นแสงที่เห็นได้ชัดเจนแบ่งเป็น 3 ช่วงใหญ่ ๆ คือ • ช่วงคลื่นสั้น ได้แก่ แสงสีน้ำเงิน • ช่วงคลื่นกลาง ได้แก่ แสงสีเขียว • ช่วงคลื่นยาว ได้แก่ แสงสีแดง TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  25. สี (HUE) การผสมสีของแสง แม่สีของแสงสามารถผสมให้เกิดแสงสีต่าง ๆ ได้ โดยการฉายแสงแม่สีคู่หนึ่งลงบนพื้นขาว จะเกิดเป็นสีขั้นที่สองของแสง (Secondary Colors)เรียกวิธีการผสมสีของแสงว่า การผสมสีบวก (Additive Color Mixing) TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  26. สี (HUE) • สีขั้นที่สองของแสง(Secondary Colors) หมายถึง สีที่เกิดจากการรวมกันของแสงแม่สีคู่หนึ่ง สีที่เกิดขึ้นจะสว่างกว่าสีของแม่สีเดิม • น้ำเงิน +เขียว=ฟ้า (CYAN) • เขียว +แดง=เหลือง (YELLOW) • แดง +น้ำเงิน =บานเย็น (MAGENTA) TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  27. สี (HUE) • สีตรงข้ามของแสง(Complementary Color)หมายถึง สีของแสงที่มีตำแหน่งตรงกันข้ามในวงจรสี เมื่อผสมกันจะเกิดเป็นแสงขาว • น้ำเงิน +เหลือง= ขาว • เขียว + บานเย็น=ขาว • แดง +ฟ้า=ขาว TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  28. สี (HUE) • สีของสาร(Colored Pigment) หมายถึง สีของวัตถุต่าง ๆ ที่เรามองเห็น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • สารสี (Pigment) มีลักษณะเป็นผงละลายอยู่ใน สารละลาย เช่น น้ำมันอะคริลิก ทำให้เกิดสีบนผิววัตถุ • สีย้อม (Dye) เป็นสารสีที่ทำให้วัตถุเกิดสีด้วยการ ดูดซึมเข้าในเนื้อวัตถุ TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  29. สี (HUE) • แม่สีของสาร หมายถึง สีที่เป็นต้นกำเนิดของสีอื่น ๆ และไม่สามารถผสมขึ้นจากสีอื่นได้ ได้แก่ • สีแดง • สีเหลือง • สีน้ำเงิน TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  30. สี (HUE) การผสมสีของสาร เรามองเห็นสีได้เพราะคุณสมบัติของวัตถุนั้นดูดซึมเอาสีของแสงขาวบางสีไว้ และสะท้อนเฉพาะบางสีออกมาเป็นสีที่เรามองเห็น สีของแสงที่ถูกดูดซึมไว้ถือเป็นการลบสีบางสีออกจากแสงขาว จึงเรียกการผสมสีของสารว่า การผสมสีลบ (Subtractive Color Mixing) การผสมคู่แม่สีของสารจะเกิดเป็นสีขั้นที่สอง และเมื่อผสมแม่สีทั้งสามเข้าด้วยกันจะเกิดเป็นสีดำ TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  31. สี (HUE) • สีขั้นที่สองของสาร(Secondary Colors) เกิดจากการผสมกันของแม่สีคู่หนึ่ง • น้ำเงิน + เหลือง= เขียว (Green) • เหลือง + แดง=ส้ม (Orange) • แดง + น้ำเงิน=ม่วง (Violet) TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  32. สี (HUE) • สีขั้นที่สามของสาร(Tertiary Colors) เกิดจากการผสมแม่สีและสีขั้นที่สอง การเรียกชื่อจะเรียกชื่อสีขั้นที่ 1 นำหน้าสีขั้นที่ 2 เสมอ • เหลือง + ส้ม = เหลืองอมส้ม • แดง + ส้ม=แดงอมส้ม • แดง + ม่วง =แดงอมม่วง • น้ำเงิน + ม่วง= น้ำเงินอมม่วง • น้ำเงิน + เขียว=น้ำเงินอมเขียว • เหลือง + เขียว=เหลืองอมเขียว TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  33. สี (HUE) • สีตรงข้ามของสาร หมายถึง คู่สีที่มีตำแหน่งตรงข้ามกันในวงจรสีมาตรฐาน เมื่อผสมกันจะดูดซึมคลื่นแสง ทั้งหมด จึงเกิดเป็นสีมืด ๆ เช่น เทา ดำ ขึ้นอยู่กับคู่สี ที่ผสม • เหลือง ตรงข้ามกับ ม่วง • แดง ตรงข้ามกับ เขียว • น้ำเงิน ตรงข้ามกับส้ม TONE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  34. COLOR WHEEL Complementary Hue TONE Similar Hue IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  35. น้ำหนักของสี (VALUE) • น้ำหนักของสีคือ ชื่อเรียกค่าความสว่างและความมืดของโทน • สีของแสงใช้คำว่า Brightness • สีของสาร ค่าน้ำหนักแบ่งเป็น • โทนไร้สี (Achromatic) • โทนสี (Chromatic) VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  36. น้ำหนักของสี (VALUE) • โทนไร้สี (Achromatic)จะมีค่าความสว่างเพียงน้ำหนัก เทา ขาว ดำ เท่านั้น โดยเปรียบเทียบค่าน้ำหนักระหว่างขาวไปดำคือ เทา 9 ลำดับ แบ่งเป็นช่วงใหญ่ ๆ (Value keys) ได้ 3 ช่วง คือ • ค่าน้ำหนักความสว่างสูง (High key) • ค่าน้ำหนักความสว่างปานกลาง (Intermediate key) • ค่าน้ำหนักความสว่างต่ำ (Low key) VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  37. AHROMATIC TONE 9 High Value VALUE 8 7 6 Intermediate Value NEUTRAL GRAY 5 4 3 Low Value 2 IST 1 School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  38. น้ำหนักของสี (VALUE) • โทนสี (Chromatic) การวัดค่าน้ำหนักอ่อนแก่ของสีได้จากการเปรียบเทียบความสว่างของสีนั้น ๆ กับ ขาว เทา ดำ เช่น • สีเหลืองเทียบกับเทาลำดับที่ 8 แสดงว่ามี ค่าน้ำหนักความสว่างสูง • สีเขียวเทียบกับเทาลำดับที่ 3 แสดงว่ามี ค่าน้ำหนักความสว่างต่ำ VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  39. น้ำหนักของสี (VALUE) • น้ำหนักของสีการให้ค่าความแตกต่างของน้ำหนักสีและไร้สีในงานออกแบบ 2 มิติ จะช่วยทำให้เกิด • แสงและเงาในภาพ • สามารถลวงตาทำให้เกิดความลึกได้ • ช่วยให้เห็นภาพและพื้นกลมกลืนหรือแยกจากกันได้ ขึ้นกับการให้ค่าน้ำหนักที่ใกล้เคียงหรือแตกต่างกันมากหรือน้อยตามความต้องการ VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  40. น้ำหนักของสี (VALUE) VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  41. น้ำหนักของสี (VALUE) • การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักสีสีต่าง ๆ สามารถเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักความสว่างได้ด้วยการผสมสี ขาว เทา ดำ ที่มีน้ำหนักต่างกันลงไป ทำได้ดังนี้ • การเติมขาว สีจะอ่อนลง น้ำหนักสูงขึ้น • การเติมดำ สีจะแก่ขึ้น น้ำหนักจะลดลง • การเติมเทา ค่าน้ำหนักจะเพิ่มหรือลดขึ้นอยู่กับค่า น้ำหนักของเทาที่นำมาผสมว่าสูงหรือต่ำกว่าสีที่มีอยู่ VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  42. น้ำหนักของสี (VALUE) VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  43. น้ำหนักของสี (VALUE) • การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักสี • การเติมสีที่มีน้ำหนักต่างกัน ค่าน้ำหนักของสีจะเปลี่ยนไปพร้อมกับสีที่เปลี่ยนไป น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงขึ้นอยู่กับสีที่นำมาผสม • 1. ผสมสีที่มีน้ำหนักอ่อนกว่า สีจะเปลี่ยนและค่าน้ำหนักสูงขึ้น VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  44. น้ำหนักของสี (VALUE) การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักสี 2. ผสมกับสีที่มีค่าน้ำหนักเท่ากัน สีจะเปลี่ยนแต่น้ำหนักคงเดิม VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  45. น้ำหนักของสี (VALUE) การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักสี 3. ผสมกับสีที่มีน้ำหนักแก่กว่า สีจะเปลี่ยนและ น้ำหนักต่ำลง VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  46. น้ำหนักของสี (VALUE) • การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักสี • บางกรณีจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสี (Hue) เช่นผสมสีเหลืองกับดำจะเกิดเป็นสีเหลืองคล้ำอมเขียว • และจะมีผลต่อความสดของสีเสมอ (Intensity) VALUE IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  47. ความสดของสี (INTENSITY) ความสดของสี หมายถึงค่าแสดงความบริสุทธิ์ของสีแต่ละสี สีจะมีค่าความสดสูงที่สุดเมื่อเป็นสีแท้ เมื่อถูกผสมด้วยการ เจือขาว เทา ดำ จะทำให้ค่าความสดของสีลดลง ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ คือ ทำสีสดเป็น สีที่ซีดหม่นลงให้เป็นสีกลางมากขึ้น INTENSITY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  48. ความสดของสี (INTENSITY) • การเปลี่ยนแปลงค่าความสดของสีเป็นการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ คือ ทำสีสดเป็นสีที่ซีดหม่นลงให้เป็นสีกลางมากขึ้น เป็นการลดเนื้อสีแท้ (Hue) • ขณะที่การเปลี่ยนแปลงค่าน้ำหนักของสี (Value) ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงปริมาณ อ่อนแก่ของสี เป็นการ ลดค่าความสว่างของสี (Brightness) INTENSITY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  49. ความสดของสี (INTENSITY) การเปลี่ยนความสดของสี มีสมการดังนี้ T (Tone) = H (Hue) + B (Black) + W (White) 1. T = H + W คือการลดค่าความสดของสีโดยการผสมขาว น้ำหนักของสีจะสูงขึ้น คุณภาพความสดจะลดลง คือสีจะจางลง เรียกว่า Tints INTENSITY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

  50. ความสดของสี (INTENSITY) 2. T = H + B คือ การลดค่าความสดของสีโดยการผสมดำ น้ำหนักของสีจะต่ำลง คุณภาพความสดจะลดลง คือสีจะมืดขึ้น เรียกว่า Shades INTENSITY IST School of Information Technology Institute of Social Technology SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

More Related