1 / 53

งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย. งานสาธารณสุข. งาน ควบคุมป้องกัน. งาน ส่งเสริม. งาน รักษาฯ. งาน ฟื้นฟูฯ. Wellness. Illness. การส่งเสริมสุขภาพ (แข็งแรง พัฒนาการสมวัย อยู่เย็นเป็นสุข). ป้องกันทั้งระบบทั้งชุมชน (จัดการอนามัย สวล. ลดพฤติกรรมเสี่ยง). ป้องกันเฉพาะโรค (ไม่ให้เกิดโรคนั้นอีก).

Télécharger la présentation

งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยงานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

  2. งานสาธารณสุข งานควบคุมป้องกัน งานส่งเสริม งานรักษาฯ งานฟื้นฟูฯ Wellness Illness การส่งเสริมสุขภาพ (แข็งแรง พัฒนาการสมวัย อยู่เย็นเป็นสุข) ป้องกันทั้งระบบทั้งชุมชน (จัดการอนามัย สวล. ลดพฤติกรรมเสี่ยง) ป้องกันเฉพาะโรค(ไม่ให้เกิดโรคนั้นอีก) ควบคุมโรค (ไม่ให้แพร่ระบาด) เจ็บป่วย งานอนามัย สวล./ส่งเสริมสุขภาพ งานอนามัย สวล./ ส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันโรค/อนามัย สวล./ สส. งานรักษา งานฟื้นฟู งานควบคุมโรค

  3. งานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยงานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย จารุวรรณ เย็นเสมอ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ยุทธศาสตร์การพัฒนา

  4. แนวคิด เขตสุขภาพ รูปแบบระบบบริการระดับพื้นที่ ที่ออกแบบให้ใกล้ชิดประชาชนมากขึ้น Purchaser กับ Provider มีเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน(Commissioning) ในการบริหารจัดการระบบสุขภาพ โดยมีการอภิบาลระบบโดยกรรมการที่เป็นอิสระและมาจากทุกภาคส่วน ถือว่าเป็นการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ -การจัดบริการลง สู่พื้นที่มากที่สุด -การตัดสินใจเรื่อง การจัดสรรสรรพยากร ตาม health need การจัดการระบบ อย่าง มีส่วนร่วม ทั่วถึง เป็นธรรม ยืดหยุ่น ยั่งยืน ตาม health need หลักประกันสุขภาพ เพื่อ ปชช.ได้รับบริการขั้นพื้นฐาน

  5. ความเชื่อมโยงอำเภอ/ตำบลสุขภาพดีความเชื่อมโยงอำเภอ/ตำบลสุขภาพดี ผลลัพธ์ประชาชนสุขภาพดี กำหนดพื้นที่ร่วมกัน ประเมินร่วมกัน กำหนดประเด็นปัญหา

  6. ๑. การบริหารจัดการสุขภาพ เป็นเอกภาพระดับอำเภอ ๕. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วม ในการจัดการปัญหาสุขภาพ DHS ๒. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน ๔. การสร้างคุณค่าและคุณภาพ กับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ๓. การจัดบริการปฐมภูมิที่จำเป็น

  7. สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืนสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืน • แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • (DHSA : District Health System Appreciation) • เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) • บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) • การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) • งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร • ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทึ้งกัน • การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง • ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต • ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต • นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี • ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) • สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) • แก้ไขปัญหาความยากจน(Poverty Eradication) • ภาครัฐ • มหาดไทย • พลังงาน • เกษตร • ศึกษาธิการ • พัฒนาสังคมฯ • สาธารณสุข • เอกชน • หน่วยงาน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตำบลจัดการสุขภาพดี • วินิจฉัย/รักษา • Tele Medicine • [Web Camera] • Family Folder • Home Health Care • Home ward • HealthScreening • Curative • Referral System • การแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ • โรคไร้เชื้อเรื้อรัง/โรคติดต่อทั่วไป • กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ/พฤติกรรมสุขภาพ • สร้างรายได้ • แก้ไขปัญหาความยากจน แผนสุขภาพตำบล • วิสาหกิจชุมชน รพ.สต. • กองทุนในพื้นที่ (กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนสัจจะ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ) • กองทุน CSR • กองทุนมูลนิธิ ภาคประชาชน อปท. * กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • ภาคีเครือข่ายต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน • : SRM PLA AIC • การพัฒนาศักยภาพ อสม. • การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน * รร.วัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. • กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ - กระบวนการมีส่วนร่วม - สอดคล้องกับท้องถิ่น • หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน • จัดทำแผนสนับสนุนแผน • สนับสนุนการเรียนรู้ • ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น • สะท้อนข้อมูล • ร่วมในกระบวนการทำแผน • ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ

  8. มีความรู้ เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 1. เอกภาพของทีมระดับอำเภอ 2.บริหารทรัพยากรร่วมกัน 3.การจัดบริการปฐมภูมิ 4.การสร้างคุณค่า 5.ภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการ ●ภาครัฐ ●ภาคเอกชน ●ผู้นำทางความคิดภาคประชาชน (3rd party) ●อื่นๆ ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน รพ.สต. อปท. ภาคประชาชน มีสุขภาพดี มีรายได้ -มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ -สามารถป้องกันการเจ็บป่วย/การตาย ในโรคที่ป้องกันได้

  9. การจัดการข้อมูล • ความร่วมมือจากภาคี “ตำบลสุขภาพดีนครชัยบุรินทร์”ปี 2556 ตำบลสุขภาพดี • คุณลักษณะสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน สื่อสารสาธารณะ/จัดการความรู้ เสริมสร้างพลังความเข้มแข็งภาคี • มีแผน&ประเมินผลการดำเนินงาน • ระดมทรัพยากร ภาคี รพ.สต. รร.อบต. เทศบาล วัด ชมรม คลังสมอง สสจ./สสอ. 5ศูนย์วิชาการ(สคร./ศูนย์สชภาค/ศูนย์วิทย์ฯ/ศูนย์สุขภาพ จิต/ศูนย์อนามัย) สปสช. สสจ./ สสอ. ติดตาม/กำกับ/ตรวจสอบ ประ ชา ชน ทุก กลุ่มวัย มี สุข ภาพ ดี กระบวนการ ผลลัพธ์ แม่และเด็ก วัยเรียน วัยทำงาน วัยรุ่น ชุมชนสุขภาพดี สูงอายุ สื่อสารสาธารณะ/การจัดการความรู้

  10. ประเด็น/เรื่อง/หัวข้อ สุขภาพกลุ่มวัยต่างๆ โรคไม่ติดต่อสภาวะเสี่ยง สภาวะโภชนาการ เบาหวาน-ความดัน อาหารปลอดภัย สภาวะแวดล้อมขยะชุมชน โรคติดต่อ

  11. 4.ระดมทรัพยากร จัดทำแผนแก้ไขปัญหาในพื้นที่

  12. องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย

  13. วงจรชีวิต ครอบครัว

  14. แผนพัฒนาระบบบริการเด็กและสตรีแผนพัฒนาระบบบริการเด็กและสตรี ลำดวน/จอมพระ/ เขวาฯ node รพ.สุรินทร์ ปราสาท สังขะ ท่าตูม รัตนบุรี ศีขรภูมิ รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง กาบเชิง/พนมดงรัก บัวเชด/ ศรีณรงค์ สนม/โนนนารายณ์ สำโรงทาบ ชุมพลบุรี รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว/ตำบลนมแม่

  15. ด้านกระบวนการ

  16. เป้าหมาย การพัฒนากลุ่มสตรีและเด็ก

  17. กลุ่มเด็ก 3-5 ปี

  18. ขั้นตอนการประเมินรับรองโรงเรียนขั้นตอนการประเมินรับรองโรงเรียน โรงเรียน ประเมินตนเอง 10 องค์ประกอบ ประเมินรับรองโดยทีมอำเภอ ทองแดง เงิน ทอง ทีมจังหวัดประเมินรับรอง ทองพัฒนา ทีมเขต/กระทรวงประเมินรับรอง เพชร เพชรตัดเพชร

  19. System manager ระดับจังหวัด/อำเภอ การลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรและชุมชน คลินิก NCD คุณภาพ (รพศ., รพท., รพช.) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง (น้ำหนักเกินและอ้วน กลุ่มปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูง) • ชุมชนและองค์กรมีการดำเนินงานส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมลดปัจจัยเสี่ยง 1.หมู่บ้าน/ชุมชน/ตำบลสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย -หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง -ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุข • สถานบริการสาธารณสุขและชุมชนมีการสื่อสารสาธารณะ(3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) • จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/ชุมชน ส่งเสริมการใช้มาตรการทางกฎหมาย/มาตรการทางสังคมเพื่อลดการบริโภคยาสูบและแอลกอฮอล์ • รพศ./รพท./รพช.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ • คลินิกNCDมีการติดตามผลลัพธ์การรักษาดูแลผู้ป่วยDM,HT 1.การลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ป่วย • 2.การคัดกรองการสูบบุหรี่ • 3.การคัดกรองภาวะซึมเศร้า ประเมินภาวะเครียดและการติดสุรา • 4.ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) 5.ผู้ป่วยDM/HT ควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดี 6. การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน 7. การดูแลรักษา/ส่งต่อผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อน • ค้นหากลุ่มเสี่ยงผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง และผู้ป่วยรายใหม่ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป • เสริมพลังความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มที่มีภาวะอ้วน/น้ำหนักเกิน กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย ระดับจังหวัด 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือ/มาตรการ/สื่อ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.พัฒนาและผลักดันนโยบายรวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือมาตรการ/สื่อ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร (นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) ระดับส่วนกลาง 1.จัดทำและสนับสนุนแนวทาง/คู่มือ/เกณฑ์ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3.สุ่มสำรวจการประเมินคุณภาพ

  20. วัยสูงอายุ

  21. ด้านกระบวนการ

  22. วัยสูงอายุ ผู้พิการ

  23. กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ/ผู้พิการกรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ ชุมชน เครือข่ายสังคมออนไลน์ หน่วยงานสนับสนุนจังหวัด/เขต หน่วยบริการ (โรงพยาบาล) ได้รับการดูแล 100% รพ.สต. เพื่อตรวจรักษา รักษาต่อเนื่อง/รับยา ไปรพ.ได้ ไปไม่ได้/ไม่มีคนพาไป มีญาติดูแล ไม่มีญาติดูแล

  24. ผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์Node LTCระดับเขต ดัชนีชี้วัดหลักในระดับเขต (Regional Key Performance Indicators) ปัจจัยบ่งชี้ความสำเร็จ (Critical Success Factor) 1)ร้อยละของผู้พึ่งพิงติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแล HHC โดยบุคลากรอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อคนต่อปี 2) ร้อยละของอำเภอมีการดำเนินงานตำบลต้นแบบLTC 1 อำเภอ 1 ตำบล 3) ร้อยละของผู้สูงอายุ Sub acute ได้รับส่งต่อดูแลในพื้นที่/ชุมชน(Homeward) ผู้สูงอายุทุกกลุ่ม (ติดสังคม/ติดเตียง/ติดบ้าน) ได้รับการดูแลสุขภาพจากทั้งหน่วยบริการสาธารณสุข สังคม และครอบครัว

  25. สรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขสรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย

  26. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (215.2) ร้อยละของตำบลที่มีการจัดการสุขภาพที่ดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน

  27. แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น   4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)

  28. “ตำบลสุขภาพดี” หลักคิดบูรณาการสู่ความเข้มแข็ง

  29. กลุ่มวัยแม่และเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 30 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 4. เด็กได้รับ EPI ครบถ้วน ร้อยละ 95 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีมาก อย่างน้อย 1 แห่ง

  30. วัยเรียน • การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน มีการให้คะแนนดังนี้ • มีผลสำเร็จจากการดำเนินงานในโรงเรียนสุขภาพดีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน)ในประเด็นดังต่อไปนี้ • ร้อยละ 100 ได้รับการประเมิน SDQ • เด็กติดเกม (เด็กวัยเรียนกลุ่มปกติไม่มีการติดเกมเพิ่มขึ้น) • เด็กจมน้ำ (เสียชีวิตน้อยกว่าร้อยละ 50 ของปีที่ผ่านมา หรือ ไม่มีการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กวัยเรียน) • เด็กวัยเรียนฟันแท้ผุไม่เกินร้อยละ 40 • มีภาวะอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 7)ไม่รวมเริ่มอ้วน • เตี้ย (ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่รวมค่อนข้างเตี้ย • สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน(จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมร้อยละ 50

  31. วัยรุ่น • สถานศึกษา • มีการจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษา • ผู้บริหารสถานศึกษาเข้าใจ จัดหลักสูตร • จัดให้มีระบบพี่เลี้ยงทั้งในและนอกสถานศึกษา ในการสอนแนะ (Coaching) • จัดให้มีการความเข้าใจให้กับครูอื่นๆ ในโรงเรียน (การอบรม 1 – 2 วัน) • เครือข่ายสุขภาพตำบล • นโยบายและมาตรการ • เยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา • มีการเชื่อมโยงระบบบริการ • สร้างความตระหนักพ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้นำชุมชน

  32. วัยทำงาน 1. ร้อยละ 80 ของรอบเอวในชายที่มีค่าปกติ และร้อยละ 55 ของรอบเอวหญิงที่มีค่าปกติ 2. ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปีมีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองด้วยวาจาหา DM/HT และมีการเก็บข้อมูลเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ(3อ2ส) 4. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง (Pre-hypertention , BP =120-139 , 80-89 mmHg.) ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (hypertention) รายใหม่ไม่เกินร้อยละ 10 5. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน (Pre-diabetes , FBS =100-125 mg/dl) ป่วยเป็นโรคเบาหวาน (Diabetes) รายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 5

  33. ผู้สูงอายุ มีการพัฒนาสู่ตำบลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 1.มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน 2.มีการบริการคัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม 3.มีการดำเนินกิจกรรม 3อ 2ส 4.มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 5.มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 6.มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข 7.มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 8.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 3 (ติดเตียง) 9.มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจในผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม

  34. กลุ่มชุมชนสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน) • มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • อาหารผ่านเกณฑ์น้ำมันทอดซ้ำ • สถานประกอบการอาหารผ่านมาตรฐาน (ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดสด) • มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา • ชุมชน/หมู่บ้านมีการจัดการขยะ • การลด ละ เลิก การใช้สารกำจัดศัตรูพืช • หมู่บ้านสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์

  35. กลุ่มชุมชนสุขภาพดีวิถีนครชัยบุรินทร์ (5 คะแนน) • โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ • โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • วัณโรคปอด โรคมาลาเรีย โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน/อาหารเป็นพิษ • โรคหนองพยาธิ โรคพิษสุนัขบ้า โรคหนอนพยาธิ • โรคเลปโตสไปโรสิส โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน • โรคไข้หวัดใหญ่ โรคเรื้อน • การป้องกันเด็กจมน้ำ การควบคุมการบริโภคยาสูบ • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ • โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคจากการประกอบอาชีพ • การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน โรคอหิวาตกโรค โรคมือเท้าปาก

More Related