1 / 55

สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร

สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร. กรอบการนำเสนอ สถานการณ์โรคไข้เลือดออก แผนและแนวทางการดำเนินงานไข้เลือดออก สถานการณ์โรคคอตีบ แนวทางการดำเนินงานโรคคอตีบ. โรคไข้เลือดออก. KPI การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค

infinity
Télécharger la présentation

สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์และแนวทางการดำเนินงานสถานการณ์และแนวทางการดำเนินงาน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร

  2. กรอบการนำเสนอ • สถานการณ์โรคไข้เลือดออก • แผนและแนวทางการดำเนินงานไข้เลือดออก • สถานการณ์โรคคอตีบ • แนวทางการดำเนินงานโรคคอตีบ

  3. โรคไข้เลือดออก • KPI • การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค • - ค่า HIในหมู่บ้าน < 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของหมู่บ้านและชุมชนที่รับผิดชอบ (ผลงาน 70-90%) • - ค่า CI ในโรงเรียน วัด ศพด. และสถานบริการสาธารณสุข = 0 ร้อยละ 100 (ผลงาน 90-100%) 3

  4. KPI ไข้เลือดออก ขณะเกิดโรค - มีการรายงานโรค และควบคุมโรคภายใน 24-48 ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - การดูแลรักษาผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต 4

  5. KPI ไข้เลือดออก หลังเกิดโรค - การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดการระบาดจำนวนมาก และไม่เกิด G2 (ไม่ผ่าน พบ ๑๐ หมู่บ้าน) ประสิทธิผลการเกิดโรค - อัตราป่วยการเกิดโรคไข้เลือดออกต้องลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (ปี 55 พบผป.178 ราย อัตราป่วย 52.54 ต่อแสนปชก =ลดลง 37 % 5

  6. กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายสัปดาห์ เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง

  7. กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกปี ๒๕๕๕ แยกตามกลุ่มอายุ

  8. กราฟแสดงอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จ.มุกดาหาร ปี ๒๕๕๕ แยกรายอำเภอ

  9. จำนวน และร้อยละของหมู่บ้านที่มีค่า HI ≤ ๑๐ แยกรายอำเภอ (เดือน ก.ย. ๒๕๕๕) (สำรวจโดยจนท.สาธารณสุขของพื้นที่ )

  10. ร้อยละของหมู่บ้านที่มีค่า HI ≤ ๑๐ แยกรายอำเภอ (เดือน ก.ย. ๒๕๕๕) (สำรวจโดยจนท.สาธารณสุขของพื้นที่ )

  11. จำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออกจำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออก

  12. พื้นที่เกิด G๒ แยกรายอำเภอและหมู่บ้าน จังหวัดมุกดาหาร ปี๒๕๕๕ (ณ ๓๐ ก.ย.๕๕)

  13. กุญแจสู่ความสำเร็จ การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืนปี ๒๕๕๖ - ๕๘ โดย... นายแพทย์จิณณพิภัทร ชูปัญญา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร

  14. กุญแจสู่ความสำเร็จ รู้ว่าจะไปไหน (มีเป้าหมายชัดเจน) รู้เขา รู้เรา จริงจัง จริงใจ ยึดหลักอิทธิบาท ๔ เสริมแรงจูงใจ มีหุ้นส่วนในการทำงาน (Partnerships)

  15. รู้ว่าจะไปไหน (เป้าหมายชัดเจน)

  16. รู้เขา รู้เรา :การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

  17. องค์ประกอบ ๕ ด้านระดับจังหวัด • ระบบระบาดวิทยาที่ดี • มีกลไกการสนับสนุนให้อำเภอที่เข้มแข็ง • มีระบบการติดตามความ ก้าวหน้า และผลสำเร็จ • SRRT มีประสิทธิภาพ • อำเภอผ่านเกณฑ์อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งตามเป้าหมาย

  18. จริงจัง จริงใจ วางแผน นำแผนสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล การปรับปรุงคุณภาพงานต่อเนื่อง

  19. KPI ที่เกี่ยวข้อง KPI หลัก ปี ๒๕๕๖ I ๑.๕ อัตราป่วยไข้เลือดออกลดลง I ๒.๓ อัตราตายด้วยโรคมะเร็งท่อน้ำดีลดลง I ๘ ความสำเร็จการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ( ๗ ประเด็นหลัก )

  20. KPI ที่เกี่ยวข้อง ๗ ประเด็นหลัก I ๘ (ข้อ๑) ความสำเร็จฯวัณโรค I ๘ (ข้อ๒) ความสำเร็จฯ NCD I ๘ (ข้อ๓) ความสำเร็จฯไข้เลือดออก I ๘ (ข้อ๔) ความสำเร็จฯ เอดส์ I ๘ (ข้อ๕) ความสำเร็จฯ EMS I ๘ (ข้อ๖) ความสำเร็จฯ พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี I ๘ (ข้อ๗) ความสำเร็จฯ งานSRRT

  21. I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก • อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ๒๐ของค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง • ๒. ระยะที่๑ การเฝ้าระวังโรคก่อนการเกิดโรค • - ค่า (HI < ๑๐) ของหมู่บ้านและชุมชนที่รับผิดชอบ ร้อยละ ๘๐ ก่อนระบาด ร้อยละ ๙๐ • - ค่าCI ในรร. วัด ศพด. (ค่าCI= ๐) ร้อยละ ๑๐๐ 21

  22. I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก ๓. ระยะที่๒ ขณะเกิดโรค - ควบคุม ค่าHI=๐ ต่อเนื่องอย่างน้อย ๔ สัปดาห์ พ่นเคมีอย่างน้อย ๒ ครั้งห่างกัน ๑ สัปดาห์ มีการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน , การประชาคม/ให้ความรู้ประชาชน มีกิจกรรมรณรงค์ ) - มีการรายงานโรคให้สสจ.มุกดาหาร และทีมSRRT ในพื้นที่ภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - ทีมSRRT ลงพื้นที่ในการสอบสวนและควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง หลังพบผู้ป่วย - การดูแลรักษาผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ ไม่มีผู้เสียชีวิต 22

  23. I ๑.๓ ,I ๘.๓ ไข้เลือดออก ๔. ระยะที่ ๓ หลังเกิดโรค การควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ - พบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นหรือต่อเนื่อง หลังพบผู้ป่วยรายแรก ๑๔ วัน - ไม่เกิด G๒ ในพื้นที่ (พบผู้ป่วยรายใหม่หลังพบผู้ป่วยรายแรก ๒๘ วัน) 23

  24. โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกจังหวัดมุกดาหาร ปี ๒๕๕๖ กิจกรรม สุ่มประเมินและออกสอบสวนโรค โดย - ศตม.ที่ ๗.๒ มุกดาหาร - ทีม SRRT จังหวัด - คปสอ. - สุ่มไคว่ อสม. / รพ.สต.

  25. สถานการณ์โรคคอตีบ จังหวัดมุกดาหาร

  26. จำนวนผู้ป่วยสะสม รายจังหวัด พ.ศ. 2555 * จังหวัดใหม่ที่พบผู้ป่วยสงสัย(ข้อมูล ณ.วันที่ 2 พ.ย 55)

  27. พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบ ๕ ระดับ สี =แดง บานเย็น ส้ม เหลือง เทา

  28. มาตรการตามระดับพื้นที่มาตรการตามระดับพื้นที่

  29. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ ชายไทย อายุ ๔๑ ปี ๖ เดือน อยู่บ้านเลขที่ ๙๑ หมู่ ๑๔ ต.ด่านซ้าย อ.ด่านซ้าย จ.เลย ผู้ป่วยทำงานที่ ฐานทหารพรานวัดมุจริน ม.๓ บ้านหนองหล่ม ต.3โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร ผู้ป่วยกลับไปเยี่ยมบ้านที่ด่านซ้ายทุกเดือนประมาณ ๑ สัปดาห์ รายละเอียดดังนี้ วันที่ ๑-๗ ต.ค. ๕๕ กลับไปเยี่ยมบ้านที่ด่านซ้าย และเมื่อ ๒ เดือนก่อนมีผู้ป่วยโรคคอตีบในหมู่บ้านผู้ป่วย วันที่ ๘ ต.ค. ๕๕ กลับมาทำงานที่ ต.หนองหล่ม อ.ดอนตาล

  30. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ (ต่อ) วันที่ ๑๙ ต.ค. ๕๕ ผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้ เจ็บคอ ไอเล็กน้อย วันที่ ๒๐ ต.ค. ๕๕ ไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลเอกชน ที่บ้านแก้ง อ.ดอนตาล วันที่ ๒๖ ต.ค. ๕๕ ผู้ป่วยยังมีอาการไข้บางเวลา ปัสสาวะขัด ปวดเมื่อยตามร่างกาย เข้ารับการรักษาที่รพ.ดอนตาล แรกรับผู้ป่วยไม่มีไข้ ต่อมทอนซิลโต บวม มีหนอง มีWrite Patch T= ๓๗.๑ องศา BP 120/ 80 mmHg. แพทย์สงสัยคอตีบ (มาจากพื้นที่ระบาดและมี Write Patch ) จึงส่งต่อรพ.มุกดาหาร วันที่ ๒๖-๒๘ ต.ค. ๕๕ รับการรักษาที่รพ.มุกดาหาร ผู้ป่วยอาการดีขึ้น กลับบ้านในวันที่ ๒๘ ต.ค. ๕๕ แพทย์วินิจฉัย Tonsillitis ( แต่มาจากพื้นที่ระบาด)

  31. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๑ (ต่อ) วันที่ ๒๙ ต.ค.- ๓ พ.ย. ๕๕ เฝ้าระวังโรคในพื้นที่ต่อเนื่อง เยี่ยมผู้ป่วย วันที่ ๔ พ.ย. ๕๕ นำผู้ป่วยมารพ.ดอนตาลเพื่อทำ Throat Swab (เพื่อยืนยันการวินิจฉัย ตามคำแนะนำ สคร.๗ อุบลราชธานี) วันที่ ๗ พ.ย.๕๕ สคร.๗ อบ.ประสานฉีด dT ผู้สัมผัส ๘ ราย วันที่ ๘ พ.ย.๕๕ ฉีด dT วันที่ ๑๐ พ.ย.๕๕ ผลLab = เป็นลบ

  32. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ หญิงไทย อายุ ๕๕ ปี อยู่บ้านเลขที่ ๑๖๕ หมู่ที่๙ บ้านหนองเอี่ยนดง ต.น้ำเที่ยง อ.คำชะอี อาชีพ ทำนา ประวัติการเจ็บป่วย - เริ่มป่วยวันศุกร์ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ด้วยอาการ ไข้ เจ็บคอ - วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ไปรักษาที่คลินิก หมอบอกว่าเป็น ทอลชิลอักเสบ ได้ยากกลับบ้าน - วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เข้ารับการรักษาที่ รพช.คำชะอี แพทย์ สงสัยคอตีบ Refer รพท. มุกดาหาร แพทย์รับเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยใน

  33. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) การรักษา วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๑. PGS ๒. Bromhexine ๓. paracetamol วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ฉีด Diphtheria Anti Toxin ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๕ คน ประชากรอายุประมาณ ๔๓๑ ราย ( ๕ หมู่บ้านหนองเอี่ยนดง ) แพทย์วินิจฉัย Acute exudates tonsillitis R/O Diphtheria ประวัติการเดินทาง ช่วงก่อนป่วย ๑ เดือนที่ผ่านมา ไม่ได้เดินทางไปไหน มีแต่อยู่บ้านและไปทุ่งนา (เคยไปกทม.ในเดือนกันยายน ๒๕๕๕ ) - ทำ Throat Swab ส่ง ๕ และ ๖ พ.ย. ๕๕

  34. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) มติที่ประชุม ให้คปสอ.คำชะอี และสสจ.มุกดาหาร ดำเนินการ ๑. การประชุม War room - ระดับอำเภอ ครั้งที่ ๑ วันศุกร์ที่ ๙ พ.ย. ๕๕ ครั้งต่อไป วันพุธเช้า และวันจันทร์ – วันพุธ ของทุกสัปดาห์ เป็นระยะเวลา ๑ เดือน หรือถ้าผลยืนยันพบเชื้อ ให้ดำเนินการตามมาตรการที่กรมควบคุมโรคกำหนด (รอผลประมาณสัปดาห์หน้า) - ระดับจังหวัด ให้ดำเนินการสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง(วันจันทร์ และวันพุธ ) และรายงานผลการดำเนินงานให้สคร.๗ อุบลราชธานี ทราบด้วย

  35. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) ๒. Cont. Caseได้ ๑ วง ( ครอบครัว ๖ คน ) สุ่มทำใกล้ชิดจริงๆ วงที่ ๒ มีอาการทำThroat Swab ผู้มีอาการ ดำเนินการที่รพ.คำชะอี ในวันที่ ๙ พ.ย.๕๕ เก็บ๑๒ ตัวอย่าง ส่งตรวจที่ รพ.สกลนคร ให้ยาErythromycin 2 ครั้ง/วัน ในผู้สุ่ม Throat Swab ๗ วัน ถ้าผลLab เป็นลบให้หยุดยาได้ ๓. Dx +Tx = การรักษา …อายุรกรรมชาย (ห้องแยก) แพทย์วินิจฉัย Acute exudates tonsillitis R/O Diphtheria ให้ผู้ป่วยอยู่รพ.ต่ออีก ๑ สัปดาห์เพื่อรอผลLab ถ้าผล + แยกผู้ป่วย ๑๔ วัน พักที่บ้านก็ได้

  36. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๒ (ต่อ) ๔. Mop up ให้ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ในหมู่บ้านหนองเอี่ยนดง จำนวน ๔๑๘ คน คปสอ.คำชะอี กำหนดดำเนินการสำรวจ และนัดหมายฉีดวัคซีนdT เข็มแรก ในวันวันพุธ๑๔ พ.ย. ๕๕ ๕. Catch up ดำเนินการสำรวจกลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนตามระบบปกติ ทั้งอำเภอ ในเด็กต่ำกว่า ๑๕ ปี โดยให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ สัปดาห์ ๖. Surveillance ทีมSRRT ดำเนินการสอบสวนโรคตามแบบสอบสวนโรคกรมควบคุมโรค ปรับล่าสุด (ตามแบบฟอร์ม ) ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและติดตามผู้สัมผัสอย่างต่อเนื่อง

  37. สถานการณ์ ผู้ป่วยรายที่ ๓ ชายไทย อายุ ๒๕ ปี อยู่บ้านเลขที่ ๒๗ หมูที่ ๑๒ ตำบลโพนทราย อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ประวัติการเจ็บป่วย เริ่มป่วยวันเสาร์ ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ด้วยอาการ ไข้ เจ็บคอ วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ รับเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยนอก รพท. มุกดาหาร การรักษา๑. Bromhexine ๒. paracetamol ๓. Amoxy แพทย์วินิจฉัย Acute exudate tonsillitis R/O Diphtheria ประวัติการเดินทาง ช่วงก่อนป่วยเดินทางไปจังหวัดยโสธร (ขับรถแมคโคร) เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๖ คน ทำ Throat Swab ส่ง ๖ พ.ย. ๕๕ มติที่ประชุม เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้เป็นผู้ป่วยนอก แพทย์เฉพาะทาง ยังไม่พบผู้ป่วย จึงขอให้ทีมคปสอ.เมืองมุกดาหาร นำ ผป.มาพบแพทย์อีกครั้งในวันพรุ่งนี้ (๘ พ.ย. ๕๕ ) ผลวินิจฉัย tonsillitis

  38. มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร ๑. สคร.๗ อุบลราชธานี เสนอให้พิจารณาฉีดวัคซีนในบุคลากรสธ. จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งกลุ่มงานควบคุมโรคจะได้ศึกษารายละเอียดและนำเสนอผู้บริหารต่อไป ๒. จังหวัดมุกดาหารเป็นพื้นที่ชายแดน ให้เฝ้าระวังโรคในบุคคลหรือแรงงานต่างด้าวด้วย ๓. การบริหารเวชภัณฑ์ยาในการดูแลรักษาผู้ป่วยหรือผู้สงสัยคอตีบ ให้บริหารจัดการใช้ยา ของรพ.แต่ละแห่ง ๔. การ Catch up ให้ดำเนินการทั้งจังหวัด และให้ส่งข้อมูลการสำรวจและความต้องการใช้วัคซีนให้สสจ.มุกดาหารทราบ ในวันพุธที่ ๑๔ พ.ย. ๕๕

  39. มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร ๕.การเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ - รพ.สต. ถ้าพบผู้ป่วยมีฝ้าขาว หรือสงสัยคอตีบ ส่งรพช. / Consult แพทย์ ๖. ประชุมวิชาการคัดกรอง รักษา และการทำ Throat Swab ๗. การรักษา และส่งต่อ กรณีพบผู้ป่วย/สงสัย ให้ดำเนินการดังนี้ - รพ.สต. ถ้าพบผู้ป่วยมีฝ้าขาว หรือสงสัยคอตีบ ส่งรพช. / Consult แพทย์ - พบผู้ป่วยสงสัยที่รพช. ให้ดูแลและรักษาเอง จะส่งต่อผู้ป่วยในกรณี ๑. เป็นเด็ก อายุต่ำกว่า ๑๒ ปี ทอนซิล+ /ฝ้าขาว ๒. เป็นผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ มีอาการรุนแรง แทรกซ้อน - ถ้ารพช. ส่งต่อแจ้งศูนย์ประสานส่งต่อ รพท.ด้วย

  40. มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร • - DAT อยู่รพท. จะส่งให้รพช.และรพท.คีย์VMI (บริหารจัดการภายในจังหวัด) ถ้ามีCase เบิกจากรพท.มุกดาหาร ได้ • ถ้ามากกว่า ๑๒ ปี จะให้แพทย์หู คอ จมูก และอายุรแพทย์ ดูให้ • ถ้าพบผู้ป่วยหรือผู้สงสัย การรายงานโรคให้รายงานทางโทรศัพท์ถึงสสจ.มุกดาหาร ทันที ที่คุณธัชชัย ใจคง หรือคุณพันธ์ฉวี สุขบัติ หรือคุณเอกชัย งามแสง • - ให้ผู้เกี่ยวข้องคีย์ข้อมูลวัคซีน dT ผ่านระบบVMI = 0ทุกรพ.

  41. มติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหารมติที่ประชุม/แนวทางมุกดาหาร - ให้โรงพยาบาลทุกแห่งทำFlow chart และสำรวจวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน เตรียมห้องแยกให้พร้อมในทุกโรงพยาบาล - การส่งตัวอย่างส่งตรวจ Throat Swab ให้ส่งผ่านสสจ.มุกดาหารทุกครั้ง - จัดประชุมวิชาการแพทย์ พยาบาล ทีมSRRT ด้านการดูแลรักษาผู้ป่วย การทำ Throat Swab และแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรค ในวันที่ ๑๔ พ.ย. ๕๕ ณ ห้องประชุมสสจ.มุกดาหาร โดยวิทยากรจากรพท.มุกดาหารและสคร.๗ อุบลราชธานี

  42. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร - เปิด War room ด่วน - กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด - การบัญชาการ - การรายงาน - กิจกรรม การจัดการมาตรการแต่ละราย - จัดระบบรายงาน - การพัฒนาองค์ความรู้ / เตรียมความพร้อมบุคลากร 42

  43. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด * เฝ้าระวังผู้เดินทางจากพท.เสี่ยง * เริ่มลุย ๒๖ ต.ค. ๕๕ – ปัจจุบัน * War room ทั้งจังหวัด * เบิก-สนับสนุน Media รพท. รพช * การส่งตัวอย่างส่งตรวจ (ศูนย์วิทย์ , กรมวิทย์ , รพ.สกลนคร = Set Lab รพท. มุกดาหาร ) การตามผล 43

  44. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กำหนดแนวทางร่วมกันทั้งจังหวัด * การวินิจฉัยโรค * องค์ความรู้ =การเก็บ-ส่งสิ่งส่งตรวจ , การRefer ผป. การรักษา , ทีมSRRT * การประสานงาน 44

  45. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร • - แจ้งการเตือนภัย ระบบเฝ้าระวัง รายงานเร็ว • - แพทย์ให้ความสำคัญในการวินิจฉัย • ทำงาน กิจกรรมต้องเวอร์ จริงๆ ในการควบคุมโรค ( เร็ว ครบถ้วน ) • ข้อมูลEPI ต้องดีพอ – การเบิกจ่าย /ฉีดวัคซีน • ทำงาน24 ชั่วโมง กดดันทุกทาง • ได้องค์ความรู้ใหม่ ขอบคุณทุกส่วน 45

  46. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - ต้องทำกิจกรรมก่อนLab จะออก ให้ครบตามเกณฑ์ - ทำMop up หมู่บ้านผป.สงสัย - เก็บLab และส่งLab ผู้สัมผัส - จ่ายยา Erythro ผู้สัมผัส วง ๑ + ผู้สุ่มLab - Catch up กลุ่มเป้าหมายปกติทั้งจังหวัด - แจ้งจังหวัดใกล้เคียง 46

  47. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - รายแรกรักษา ๒๖ ต.ค. เก็บLab (อ.) ๔ พ.ย. เช้า ส่งศูนย์วิทย์ ๔ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๖.๓๐ น. ทราบผล อ.ที่ ๑๑ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๓.๒๐ น. รวม ๗ – ๘ วัน 47

  48. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - รายที่ ๒ รักษา ๕ พ.ยเก็บLab (จ.) ๕ และ๖ พ.ย. ส่งศูนย์วิทย์ ๕และ๖ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๗.๓๐ น.และ๑๕.๐๐ น. ทราบผล จ.ที่ ๑๒ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. รวม ๗ – ๘ วัน 48

  49. บทเรียน ๑๓ วัน สำคัญมุกดาหาร กับการรอคอยที่ยาวนาน ก่อนทราบผลLab - Contract รายที่ ๒ เก็บLab (ศ) ๙ พ.ย. ส่งรพ.สกลนคร ๙ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๗.๓๐ น. ทราบผลเบื้องต้น อ.ที่ ๑๑ พ.ย. ๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. เข้าข่ายสงสัย ๔ ราย ตรวจBio. Ch. จะทราบผล ๑๓ – ๑๔ พ.ย.๕๕ (เหลือ 3 ราย) 49

  50. ສະພາບການເກີດລະບາດ ແລະການໂຕ້ຕອບ 50

More Related