1 / 23

มิติหญิงชายกับงบประมาณของรัฐ บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363

มิติหญิงชายกับงบประมาณของรัฐ บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363. รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2553. ความจริงใจของรัฐในการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย ดูได้จากงบประมาณ. จากนโยบาย...สู่ปฏิบัติ จากคำพูด...สู่รูปธรรม...ย้ำความจริงใจ แถลงนโยบาย  ตามมาด้วย...เงิน

Télécharger la présentation

มิติหญิงชายกับงบประมาณของรัฐ บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มิติหญิงชายกับงบประมาณของรัฐบทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจศ. 363 รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2553

  2. ความจริงใจของรัฐในการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชายดูได้จากงบประมาณความจริงใจของรัฐในการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชายดูได้จากงบประมาณ • จากนโยบาย...สู่ปฏิบัติจากคำพูด...สู่รูปธรรม...ย้ำความจริงใจ • แถลงนโยบาย  ตามมาด้วย...เงิน • สะท้อนความสำคัญ - ใคร ที่ไหน อย่างไร • สะท้อนการ “เลือก” จัดสรรทรัพยากรอันมีอยู่จำกัด • มักเข้าใจกันว่า งบประมาณเป็นกลาง...กระทบทุกคนพอๆกัน ไม่ได้เลือกปฏิบัติ แต่... จริงหรือ?

  3. ระบบเศรษฐกิจของประเทศระบบเศรษฐกิจของประเทศ • งานในภาคเศรษฐกิจที่เป็นทางการ ได้รับความสำคัญ • ผลผลิต /งานสามารถ ตีราคา และ วัดออกมาเป็นรายได้ประชาชาติ • งานในภาคเศรษฐกิจที่ไม่เป็นทางการ/นอกระบบ ไม่จัดอยู่ในระบบเศรษฐกิจ • งานอาสาสมัคร งานบ้าน/ดูแลชีวิตความเป็นอยู่ • มองข้ามระบบเศรษฐกิจภาคอภิบาล (Care economy) • มองว่าครัวเรือนไม่ใช่ผู้ผลิตทางเศรษฐกิจ • ทั้งๆที่มีความสำคัญต่อการวางฐานรากของทุนมนุษย์ • ในความเป็นจริง ผลผลิตของชาติได้จาก 3 ภาคส่วน คือ • ภาคธุรกิจเอกชน ภาคราชการ ภาคครัวเรือนและชุมชน • ต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน

  4. งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายคืออะไร?งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายคืออะไร? • นโยบายที่ดีต้องเข้าใจผลกระทบ และ สะท้อนความต้องการของกลุ่มต่างๆ • บทบาทของหญิงชายแตกต่างกัน • ผลกระทบต่อหญิงชาย ย่อมไม่เหมือนกัน • การสนองความต้องการของหญิงชาย ก็ต้องใช้วิธีต่างกัน • งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย คือ กระบวนการและเครื่องมือ ที่จะช่วยประเมินผลของงบประมาณที่มีต่อหญิงชาย ว่าต่างกันตรงไหน อย่างไร • เน้นที่การตรวจสอบงบประมาณ และผลต่อหญิง/ชาย • เริ่มต้นจาก ข้อมูลที่แยกเพศหญิงชาย เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างในแง่ของ • บทบาท / สถานภาพในครัวเรือน • บทบาท / สถานภาพในระบบเศรษฐกิจ

  5. ไม่ใช่ ทำงบประมาณพิเศษ ขึ้นต่างหาก แยกกันระหว่างหญิง ชาย ไม่ใช่ ดูเฉพาะส่วนที่เห็นชัดว่าโยงกับผู้หญิง หรือเป็นเรื่องความสัมพันธ์หญิงชาย ไม่ใช่ การของบประมาณเพิ่ม แต่เป็น การวิเคราะห์งบที่เป็นอยู่ แต่เป็น ดูการจัดสรรในทุกสาขา ภาคส่วน ว่ามีผลแตกต่างอย่างไร แต่เป็น จัดการลำดับความสำคัญเสียใหม่ งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย

  6. เครื่องมือ และวิธีการ • ประเมินนโยบาย • คำนึงถึงมิติหญิงชายหรือเปล่า • ประเมินว่าผู้ได้รับผลประโยชน์เป็นใคร • แยกเพศหญิงชาย • วิเคราะห์ผลต่อการใช้เวลา • หญิงและชาย

  7. การประเมินนโยบายว่าคำนึงถึงมิติหญิงชายหรือไม่การประเมินนโยบายว่าคำนึงถึงมิติหญิงชายหรือไม่ • ใช้มุมมองมิติหญิงชายกับนโยบายและบริการที่รัฐให้ ตั้งคำถามว่า... • นโยบาย / การจัดสรรทรัพยากรที่จะเกิดขึ้น มีแนวโน้มจะทำให้ความเหลื่อมล้ำระหว่างหญิงชายที่เป็นอยู่นั้น • ลด เพิ่ม ไม่เปลี่ยนแปลง? • ภาคราชการ: แต่ละกระทรวงจัดประเมินนโยบาย • ก่อนออกมาเป็นงบประมาณ ให้วิเคราะห์ว่า • การจัดสรรค่าใช้จ่ายแต่ละรายการ คำนึงถึงมิติหญิงชายหรือไม่ • แนบไปกับรายละเอียดคำแถลงนโยบาย • องค์กรเอกชน: ทำการประเมินนโยบายการใช้จ่าย • อาจร่วมมือกับภาควิชาการ

  8. วิเคราะห์ ผู้รับผลประโยชน์จากการใช้จ่ายของรัฐ • ประเมินการกระจายการใช้จ่ายของรัฐ แยกตาม เพศ เชื้อชาติ รายได้ ภูมิภาค ฯลฯ • ประเมินจาก • ต้นทุนต่อหน่วย - ของการให้บริการแต่ละประเภท • อัตราการใช้ประโยชน์ - ปริมาณที่หญิงและชายได้ใช้ • นำมาคำนวณหาระดับการถ่ายโอนทรัพยากร • รัฐคำนวณด้วยตัวเอง หรือ จ้างนักวิจัยอิสระ

  9. สรุป งบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายคือ... • เครื่องมือ ติดตาม/ตรวจสอบ • การบูรณาการมิติหญิงชายในการทำงาน และ • ประสิทธิผลของการพัฒนา • เปิด กระบวนการงบประมาณ/การตัดสินใจให้กับภาคประชาสังคม • ป้อนข้อมูล เกี่ยวกับผลงานให้รัฐบาล • ให้ข้อมูล ที่ทำให้มีการตัดสินใจได้ดีขึ้น • นโยบายจำเป็นต้องได้รับการปรับเปลี่ยนอย่างไร • ทรัพยากรควรได้รับการจัดสรรไปที่ไหน

  10. ประสบการณ์ของต่างประเทศ - ออสเตรเลีย • เป็นประเทศแรกที่ริเริ่มดูงบประมาณและผลต่อความเสมอภาค เมื่อปี 2527 • สำนักงานนโยบายสตรี และสำนักงบประมาณ ทำหน้าที่ประเมินผลกระทบของงบประมาณต่อผู้หญิงและเด็กหญิงทั้งหมด

  11. อังกฤษ • กลุ่ม ”ผู้หญิงและงบประมาณ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2532 • รัฐบาลไม่ใส่ใจ จึงเปลี่ยนเข็มไปหาฝ่ายค้าน • เน้นวิเคราะห์การจัดเก็บภาษี และสิทธิประโยชน์มากกว่าการวิเคราะห์รายจ่าย • กลุ่ม “ผู้หญิงและงบประมาณ” มีทั้งนักเศรษฐศาสตร์และนักวิเคราะห์นโยบายที่พูด “ภาษา” เดียวกันกับข้าราชการกระทรวงการคลัง และใช้หลักที่มีผลการวิจัยสนับสนุนและใช้เป้าประสงค์ของรัฐบาลเป็นหลักเพื่อให้นโยบายต่างๆคำนึงถึงมิติหญิงชาย

  12. ฟิลิปปินส์ • เริ่มเมื่อปี 1996 คณะกรรมการสตรีระดับชาติ ได้ผลักดันให้หน่วยงานราชการทุกแห่ง รวมทั้งองค์กรปกครองท้องถิ่น ต้องจัดสรรงบประมาณอย่างน้อย ร้อยละ 5 เพื่องานที่เกี่ยวกับมิติหญิงชายและการพัฒนา • ต่อมาทบทวน ใช้ GRB เพื่อบูรณาการมิติหญิงในกระบวนการงบประมาณ โดยส่งเสริมศักยภาพของหน่วยงานในการทำงานให้บรรลุผลลัพธ์ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาสังคม

  13. ออสเตรีย • ปี 2544 องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสตรี จัดตั้งกลุ่มผู้หญิงและงบประมาณขึ้น • มุ่งสร้างการตระหนักรับรู้ในแนวคิดเกี่ยวกับการงบประมาณและมิติหญิงชาย และได้ตีพิมพ์หนังสือที่เกี่ยวข้องกับการคลังและมุมมองหญิงชายขึ้น • ปี 2002 กระทรวงการคลังได้ตีพิมพ์เอกสารที่วิเคราะห์การเก็บภาษีรายได้โดยนำเสนอว่า ผู้ชายได้ผลประโยชน์จากกระบวนการจัดเก็บมากกว่าผู้หญิง • รัฐบาลกลางก็ได้เริ่มดำเนินการในปี 2004 โดยกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงกิจการสตรี เริ่มบูรณาการมิติหญิงชายในกระบวนการงบประมาณ

  14. เนเธอร์แลนด์ • ปี 2528 เริ่มมีนโยบายส่งเสริมความเสมอภาค รายงานผลการวิจัยที่ประเมินนโยบายอย่างต่อเนื่อง • ปี 2544 รัฐสภาเนเธอร์แลนด์ ให้ความเห็นว่า ทุกหน่วยงานของรัฐควรระบุว่า ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างความเสมอภาคจำนวนเท่าไร • สก็อตแลนด์ • ปี 2542 กลุ่มผู้หญิงอาศัยโอกาสที่ สภาผู้แทนฯ และ ฝ่ายบริหาร แยกเป็นอิสระจากกัน เพื่อขับเคลื่อนเรื่องงบประมาณ • กลุ่มทำงานวิจัยและรวบรวมข้อมูลต่างๆ (มีสมาชิกกว่า 300 คน ) • ให้ข้อคิดเห็นในงบประมาณ นำเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการของสภาฯ และพบรัฐมนตรีคลัง ซึ่งได้จัดตั้งกลุ่มที่ปรึกษาเพื่อให้ช่วยดูในเรื่องนี้

  15. อินโดนีเซีย • องค์กรพัฒนาเอกชน เริ่มเรื่องมิติหญิงและกระบวนการงบประมาณ • ปี 2543 มีประกาศของประธานาธิบดี ให้ทุกหน่วยงานรัฐและท้องถิ่น บูรณาการมิติหญิงชายในนโยบายและโครงการของรัฐ • ในปี 2545 สภาที่ปรึกษาฯ มีข้อเสนอให้รัฐบาลจัดสรรงบประมาณร้อยละ 5 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ผู้หญิง • ในปี 2546 กระทรวงมหาดไทย ออกกฎให้รัฐบาลทุกระดับจัดสรรงบประมาณ 5 % เพื่อสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย

  16. ปากีสถาน และ บังคลาเทศ • ปากีสถาน • กระทรวงการพัฒนาสตรีได้เสนอ GRB เมื่อปี 2544 เพื่อเป็นเครื่องมือในการลดความยากจน • ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มที่ทำงานเรื่องการลดความยากจน และได้รับการสนับสนุนทางวิชาการและการเงินจากหน่วยงาน พัฒนาระหว่างประเทศ • บังคลาเทศ • เริ่มการวิเคราะห์มิติหญิงชายในกระบวนการงบประมาณพร้อมๆ กันในหลายจุด ทั้งในมหาวิทยาลัย ในองค์กรภาคเอกชน และในกระทรวงกิจการสตรีและเด็ก

  17. มาเลเซีย • เริ่มจริงจังมาประมาณ 6 – 7 ปี มีแผนงานชัดเจน • ปี 2543 นายกรัฐมนตรีประกาศชัดเจนว่า แนวทางงบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย มีศักยภาพในการขับเคลื่อนความเสมอภาค • ปี 2544 ตั้งกระทรวงสตรีและครอบครัว • ใช้วิธีการประเมินนโยบายที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย วิเคราะห์ประเด็นหญิงชายที่เกี่ยวข้องในนโยบาย/โครงการบางเรื่องเป็นขั้นตอนดังนี้ • การวิเคราะห์สถานภาพในเรื่องนั้นๆ เช่น การศึกษา • การวิเคราะห์นโยบาย/โครงการต่างๆ • การวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ • การวิเคราะห์การจัดบริการตามงบฯที่ได้รับ • การวิเคราะห์ผลลัพธ์ ผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง

  18. ทำโครงการนำร่องก่อนใน 5 กระทรวง กระทรวงศึกษา อุดมศึกษา สาธารณสุข ทรัพยากรมนุษย์ และ พัฒนาชนบท วัตถุประสงค์ : • เพื่อทดสอบรูปแบบของกระบวนการทำงบประมาณ • เพื่อเพิ่มทักษะของเจ้าหน้าที่งบประมาณในการวิเคราะห์บทบทหญิงชาย เพื่อให้สามารถทำคำแถลงงบประมาณและทำคู่มือที่สอดคล้องกับบริบทของมาเลเซีย เน้นการสร้างทีมวิทยากร

  19. งบประมาณแบ่งเป็น 2 ส่วน – งบประจำ และงบพัฒนา • แต่ละกระทรวงเลือกเพียงบางรายการจากทั้งสองงบ • ตัวอย่าง - กระทรวงศึกษา • งบประจำ : ประถมศึกษา • งบพัฒนา : โรงเรียนประจำ การฝึกอาชีพสำหรับระดับมัธยม • ตัวอย่าง – กระทรวงสาธารณสุข • งบประจำ : สุขภาพครอบครัว • งบพัฒนา : การพัฒนาโรงพยาบาล การจัดบริการสุขภาพในชนบท

  20. ผลจากโครงการนำร่อง • มีแบบฟอร์มการของบประมาณ (ทั้งงบประจำและงบพัฒนา) ที่ต้องระบุประเด็นหญิงชาย ผลผลิต และผลลัพธ์ • เจ้าหน้าที่ในกระทรวงนำร่องมีทักษะในการวิเคราะห์ /บูรณาการมิติหญิงชายในกระบวนการงบประมาณ • ข้าราชการระดับสูงของกระทรวงสตรีมีความถ่องแท้ในแนวทางการวิเคราะห์และบูรณาการมิติหญิงชายในกระบวนงบประมาณ • มีกลุ่มวิทยากรจากกระทรวงนำร่อง สถาบันพัฒนาข้าราชการ และกระทรวงสตรีร่วมกันขยายผลไปยังกระทรวงต่างๆ • กระทรวงการคลังออกหนังสือเวียนให้ทั้ง 5 กระทรวงนำร่องใช้ GRB ในการของบฯ และกระตุ้นให้กระทรวงอื่นๆระบุประเด็นหญิงชายในการของบประมาณด้วย

  21. เงื่อนไขที่สำคัญ และข้อสังเกตเกี่ยวกับกลุ่มที่มีบทบาท • มีระบบงบประมาณที่เน้น output based ที่ปรับใช้ในการบูรณาการมิติหญิงชายได้ง่าย • หน่วยงานกลาง เช่น กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ มีแนวการวางแผนที่พินิจพิเคราะห์และมุ่งระยะยาว • รัฐบาลควบคุมงบประมาณได้อย่างเข้มแข็ง • กลุ่มที่อยู่ในภาครัฐและมีส่วนตัดสินใจในระบบงบประมาณอย่างเป็นทางการ เช่น ข้าราชการ และสมาชิกรัฐสภา • กลุ่มประชาสังคมซึ่งที่อยู่นอกระบบการตัดสินใจด้านงบประมาณ เช่น องค์กรผู้หญิง องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน

  22. จะเริ่มตรงไหนดี? • ทุกหน่วยงานต้องประเมินผลกระทบของงบประมาณต่อสตรีและเด็กหญิง โดยแบ่งรายจ่ายออกเป็นสามกลุ่ม • มุ่งไปที่สตรีโดยเฉพาะ • มุ่งสร้างโอกาสการทำงานที่เท่าเทียม – มาตรการเชิงบวก เพื่อส่งเสริมให้หญิงชายได้จ้างงานจำนวนเท่ากัน มีตัวแทนเท่ากันในตำแหน่งบริหาร และผลตอบแทนเท่ากัน • บูรณาการ – คือส่วนที่เหลือ • ไม่ได้ดูแต่เฉพาะโครงการที่ให้ประโยชน์สตรี • แต่รวมถึงการอบรมเรื่องมิติหญิงชายให้เจ้าหน้าที่ ทำวิจัย ประเมินผลเรื่องมิติหญิงชาย

  23. ทำไมไม่ทำกันเสียที? • งบประมาณเป็นเรื่องของ การจัดลำดับความสำคัญ การเลือกระหว่างโครงการต่างๆ • ต้องมีคนได้ คนเสีย • แต่ก็มีตัวอย่างที่มีความร่วมมือระหว่างกลุ่มต่างๆ สมาชิกรัฐสภา กับ องค์กรเอกชน หรือ รัฐบาลกับ องค์กรเอกชน • เริ่มด้วยหาแนวร่วมเสียก่อน • จะได้กำหนดด้วยว่า จะเลือกหัวข้ออะไร • หาหัวข้อที่เป็นประเด็นร้อน

More Related